Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว









                          สรุปทายบท เนื้อหาบทนี้เปนการพิจารณาสถานการณผลผลิตสัตวน้ำที่สำคัญและสถานการณ
                    การคาสินคาสัตวน้ำของโลกและของประเทศไทยที่แสดงใหเห็นถึงสถานการณการผลิตที่ไมแนนอน และ

                    มีแนวโนมลดลง ในขณะที่สถานการณความตองการการบริโภคสัตวน้ำมีเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ขณะที่

                    ทรัพยากรประมงและเพาะเลี้ยงมีคอนขางจำกัดและมีแนวโนมไมไดเพิ่มขึ้นตามความตองการ

























                        ภาพที่ 1. 20 ภาพกระบวนการของเศรษฐกิจอุตสาหกรรมประมงและการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำเพื่อความยั่งยืน

                          ในเนื้อหาบทตอไปจะเปนสวนสำคัญที่จะตอบคำถามวาควรทำอยางไรในการรักษาทรัพยากร

                    ประมงอยางยั่งยืน ทั้งนี้เปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืนนั้น จะรวมถึงการทำประมงที่อยูในขนาดของฝูง

                    ปลาอยูในระดับที่ยั่งยืนทางชีววิทยา มีระบบการจัดการ IUU อยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ (FAO,

                    2021)  และจัดการฟารมเพาะเลี้ยงอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการรักษาสิ่งแวดลอม เพื่อใหผลผลิตได

                    เพียงพอกับเศรษฐกิจการคาของอุตสาหกรรมประมงตั้งแตตนน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ รวมทั้งการ

                    จัดการปญหาดานแรงงานในภาคอุตสาหกรรมสัตวน้ำอยางเปนธรรม โดยการมีนโยบายดานการประมง
                    และการเพาะเลี้ยงเปนตัวขับเคลื่อนตอไป (ภาพที่ 1. 20)



















                                                        หนา | 18
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37