Page 19 -
P. 19
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ผลผลิตจากธรรมชาติได นอกจากนั้นในชวงป 2558 ประสบปญหาไดรับการประเมินใบเหลืองจาก IUU
จึงสงผลตอการทำประมงทะเล เพราะเรือประมงมีการตรวจสอบการจดทะเบียน เครื่องมือประมง และ
การจางแรงงาน ทำใหมีการหยุดทำประมง และจำกัดจำนวนการทำประมงในชวงนั้น จึงทำใหปริมาณ
การจับสัตวน้ำที่มีแนวโนมลดลงเนื่องจากทรัพยากรเสื่อมโทรมและรวมกับการแกไขปญหา IUU จึงทำ
ใหภาพรวมนั้นมีปริมาณลดลงอยางตอเนื่อง เมื่อมีการจำกัดการทำประมงในชวง 2558-2560 ในป
2561 ไดขจัดปญญา IUU ไดดีมากขึ้นและมีผลพวงทำใหทรัพยากรประมงฟนฟูดีขึ้น ปริมาณการจับสัตว
น้ำจึงเพิ่มขึ้นจนถึงป 2563 สำหรับสัตวน้ำที่ทำประมงจากทะเล ไดแก กลุมปลาจับไดมากที่สุด
1,211.89 ลานตัน ปลาที่จับไดหลักๆ ไดแก ปลาหลังเขียว ปลาสีกุน ปลาทูแขก ปลาลัง ปลาแขงไก
ปลาทราย และปลาทู (รอยละ 79.40) มูลคา 34,443 ลานบาท (รอยละ 51.21) รองลงมาคือ กลุม
ปลาหมึก 113.69 ลานตัน (รอยละ 7.45) มูลคา 14,970 ลานบาท (รอยละ 22.26) (ตารางที่ 1. 1)
ปริมาณสัตวน้ําจากธรรมชาติและการเพาะเลี้ยงของไทย ป 2547-2563 (พันตัน)
3,000
2,500
2,000
1,500
1,000
500
0
2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
(2004)(2005)(2006)(2007)(2008)(2009)(2010)(2011)(2012)(2013)(2014)(2015)(2016)(2017)(2018)(2019)(2020)
น้ําเค็ม (Marine) น้ําจืด (Inland)
เพาะเลี้ยงชายฝง (Coastal aquaculture) เพาะเลี้ยงน้ําจืด (Freshwater aquaculture)
ภาพที่ 1.5 ปริมาณสัตวน้ำจากธรรมชาติและเพาะเลี้ยงของไทย ป 2547-2563 (พันตัน)
ที่มา:กรมประมง (2563)
ตารางที่ 1. 2 ปริมาณและมูลคาสัตวน้ำจับธรรมชาติ (น้ำเค็ม) ป 2563
ชนิดสัตวน้ำ ปริมาณ มูลคา
พันตัน รอยละ ลานบาท รอยละ
กลุมปลา 1,211.89 79.40 34,443 51.21
กลุมปลาหมึก 113.69 7.45 14,970 22.26
กลุมกุง 57.33 3.76 5,817 8.65
กลุมปู 47,621 3.12 8,860 13.17
ที่มา: กรมประมง, 2563
หนา | 5