Page 15 -
P. 15

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                                                                 บทที่ 1



                                                     สัตวน้ำสำหรับการบริโภคอาหาร (Fish for Food)



                                ในบทนี้จะอธิบายสถานการณภาพรวมของอุปทานและอุปสงคของสัตวน้ำทั่วโลกและประเทศ
                         ไทย รวมทั้งเศรษฐกิจการคาระหวางประเทศไทยกับประเทศคูคา และประเทศไทยกับประเทศคูแขงใน

                         สินคาสัตวน้ำที่สำคัญ รวมทั้งปญหาของอุปทานสัตวน้ำหรือการไดมาของผลผลิตสัตวน้ำ เพื่อที่จะเปน

                         แนวทางเบื้องตนของการวางแผนเพื่อใหอุปทานสัตวน้ำเพื่อใหสอดคลองกับอุปสงคของสัตวน้ำซึ่งสงผล

                         ตออุตสาหกรรมสัตวน้ำตอไป


                         1.1 แนวโนมของการผลิตสัตวน้ำ การใชประโยชนสัตวน้ำ และความยั่งยืนของสัตวน้ำของโลก


                                แนวโนมของการผลิตสัตวน้ำของโลกไดสรุป จากภาพที่ 1. 1 แสดงปริมาณสัตวน้ำที่จับจาก

                         ธรรมชาติ (น้ำจืด และน้ำเค็ม) และที่เปนการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำ (น้ำจืด และน้ำเค็ม) ตั้งแตป 2493-2562

                         จะพบวา การจับสัตวน้ำตามธรรมชาติในชวงแรกมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตชวงป พ.ศ.2493 ใน

                         ปริมาณ 19.25 ลานตัน จนถึง ป พ.ศ.2532 ที่ปริมาณ 89.59 ลานตัน และหลังจากนั้นจะพบวาปริมาณ
                         การจับมีปริมาณคอนขางคงที่จนถึงปจจุบัน (พ.ศ.2562) อยูระหวาง 86-97 ลานตัน


                                ปริมาณสัตวน้ำที่จับจากธรรมชาติที่มีแนวโนมไมสามารถเพิ่มขึ้น แตมีทิศทางที่จะลดลงแลว

                         หากพิจารณาถึงความยั่งยืนของสัตวน้ำที่มีอยูจะเห็นไดวา กลุมของสัตวน้ำที่ถูกนำมาใชประโยชนอยูใน

                         ระดับการทำประมงเกินควร (Overfished) มีเพิ่มมากขึ้นในชวง 20 ปที่ผานมา ขณะที่กลุมของสัตวน้ำที่

                         นำมาใชประโยชนที่ยังสามารถเพิ่มระดับการทำประมงได (Maximally sustainably fished) นั้น ลด

                         นอยลงโดยเฉพาะอยางยิ่งในระหวาง 10 ปที่ผานมา ซึ่งจะเห็นไดวาถึงแมจะมีการประเมินระดับการทำ
                         ประมงเกินควร ความตองการบริโภคยังมีความตอเนื่อง สำหรับสัตวน้ำที่สามารถนำไปใชประโยชนอยาง

                         ไมมีการจำกัดนั้น (Underfished) พบวา มีสัดสวนนอยลงเรื่อย ๆ เชนกัน สงผลใหเห็นวาทรัพยากรสัตว

                         น้ำถึงระดับวิกฤตที่จะทุกๆ ประเทศทั่วโลกตองชวยกันวางแผนและทำใหทรัพยากรสัตวน้ำสามารถมีใช

                         ประโยชนอยางยั่งยืน อยางนอยที่สุดคือเทาเดิม หรือเพิ่มขึ้น (ภาพที่ 1. 2)


                                 ซึ่งจะเห็นไดวามีการพึ่งพาการผลิตจากการเพาะเลี้ยงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ตั้งแตป พ.ศ.2532 ที่

                         ปริมาณ 16.96 ลานตัน และเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องในป 2562 ที่ปริมาณ 120.1 ลานตัน เชนกัน เปน

                         สัญญาณเตือนใหรูวาทรัพยากรสัตวน้ำทางธรรมชาติมีแนวโนมลดลง ในขณะที่แนวโนมของการบริโภค

                         สัตวน้ำของโลกมีทิศทางที่เติบโตเพิ่มขึ้น ซึ่งจะเห็นไดวาจากป พ.ศ.2554 สัตวน้ำสำหรับการบริโภคมี
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20