Page 24 -
P. 24

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          ในขณะที่การแขงขันการสงออกปลาทูนากระปองไปประเทศญี่ปุน ประเทศไทยยังคงครอง

                    สัดสวนที่มากที่สุด (รอยละ 57) รองลงมาคือประเทศอินโดนีเซีย (รอยละ 20) และฟลิปปนส (รอยละ

                    16) ทั้งนี้ประเทศไทยมีอัตราการเติบโตอยูที่รอยละ 9-10 ในชวงป 2559-2563


                          การแขงขันในอุตสาหกรรมปลาทูนา ถึงแมวาประเทศไทยจะมีศักยภาพในการแขงขันคอนขาง
                    สูงในตลาดหลัก ยกเวนตลาดในกลุมประเทศสหภาพยุโรป และมีการเติบโตเพิ่มขึ้นสำหรับตลาดอื่นๆ

                    เชน ประเทศออสเตรเลีย และกลุมประเทศตะวันออกกลาง แตประเทศไทยยังคงมีปญหาในเรื่องของ

                    การนำเขาวัตถุดิบปลาทูนาที่ไมสามารถทำการประมงไดเอง ซึ่งไมสามารถควบคุมกฎเกณฑและ

                    กฎระเบียบของการทำประมงอยางถูกกฎหมายและยั่งยืนได โดยเฉพาะตั้งแตหลังจากที่ประเทศไทยได

                    ใบเหลืองจากสหภาพยุโรป เรื่องการทำประมงอยางผิดกฎหมาย และ teir3 จากประเทศสหรัฐอเมริกา

                    สำหรับการใชแรงงานทาสในอุตสาหกรรมประมง ดังนั้นจึงตองมีการตรวจสอบและติดตามจากผูจัดหา

                    วัตถุดิบปลาทูนาจะประเทศตางๆ ดวยการใชวัตถุดิบที่มีมาตรฐานรองรับ และสามารถตรวจสอบไดวา
                    วัตถุดิบนั้นไดมาจากแหลงการทำประมงแบบถูกตองและยั่งยืน ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายในปจจุบันของ

                    อุตสาหกรรมทูนา แตประเทศไทยยังตองนำเขาวัตถุดิบปลาทูนาเปนสำคัญไมสามารถทำประมงได


                          อุตสาหกรรมสัตวน้ำที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจของไทย ลำดับตอมาคือ อุตสาหกรรมกุง ใน

                    อดีตการผลิตกุงของไทยมีการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ในชวงแรกของการเพาะเลี้ยงกุง พันธกุงที่

                    นิยมเลี้ยงจะเปนกุงกุลาดำ แตเนื่องจากการเลี้ยงกุงกุลาดำใชน้ำที่มีความเค็มต่ำและมีการขยายเขามา

                    เลี้ยงในพื้นที่น้ำจืด จึงสงผลกระทบตอการเลี้ยงมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม และการกระจายความเค็มสู
                    พื้นดิน นอกจากนั้นยังเกิดโรคระบาด และมีการใชยาปฏิชีวนะจำนวนมากและมีการตกคางในกุง จน

                    ประเทศคูคาที่นำเขามีการยกเลิกการนำเขาสงผลตอความตองการกุงในตลาด ผูแปรรูปยกเลิกการรับซื้อ

                    จากเกษตรกร และเกษตรกรมีการขาดทุนในที่สุด ระยะตอมาเมื่อมีการไดมีการนำพันธกุงขาว ที่

                    สามารถเพาะพันธุขาย มีความคงทนและโตงายในภูมิศาสตรเขตรอน ดังภาพที่ 1. 10


                           ผลผลิตของการเพาะเลี้ยงกุงในประเทศไทยไดเพิ่มขึ้นตั้งแตป 2544 จนกระทั่งถึงป 2555 โดย

                    มีผลผลิตกุงเทากับ 609,552 ตัน ขณะที่ประเทศอินโดนีเซียมีผลผลิตที่เลี้ยงเทากับ 368,477.28 ตัน

                    เวียดนาม 328,031 ตัน  และประเทศอินเดียมีการเลี้ยงกุงเพียง 269,500 ตัน โดยที่ประเทศไทยประสบ

                    ปญหา EMS และปญหาตอเนื่องในการไดรับใบเหลืองและ Tier3 ในป 2557 ซึ่งจะเปนไดวาประเทศ
                    ไทยไมสามารถผลิตกุงไดเพิ่มขึ้นอีกเลยตั้งแตป 2555 ในขณะที่อินโดนีเซีย เวียดนาม และอินเดีย ที่เปน

                    คูแขงหลักไดขึ้นอันดับเปนที่ 1 -3  ในเวลาตอมา โดยมีผลผลิตการเลี้ยงเทากับ 932,600, 883,000



                                                        หนา | 10
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29