Page 115 -
P. 115

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                          พื้นที่ในประเทศไทย พื้นที่ที่เลี้ยงจำนวนมาก ไดแก จังหวัดอางทอง สิงหบุรี สุพรรณบุรี  ใน

                    กรณีนี้จะกลาวถึงตนน้ำถึงปลายน้ำสำหรับพื้นที่อางทองและพื้นที่ใกลเคียงที่มีการกระจายปลาชอน

                    เลี้ยงมากที่สุดในประเทศไทย ซึ่งพบวา ระดับตนน้ำ ผูเพาะฟกลูกพันธุปลาชอน สวนใหญจะมาจาก
                    แหลงที่จังหวัดนครสวรรค นครปฐม และกำแพงเพชร


                          ทั้งนี้พบวา ตนทุนเฉลี่ยทั้งหมด 206.87 บาทตอตารางเมตร ขายไดราคา 416.67 บาทตอ

                    ตารางเมตร และไดกำไรสุทธิ 209.79 บาทตอตารางเมตร ภาพรวมยังสามารถทำกำไรไดในแตละรอบ

                    การเลี้ยง และมีผูประกอบการรายใหมสนใจธุรกิจนี้เพิ่มขึ้น เพราะยังขาดแคลนพันธที่แข็งแรงและไม

                    พอขาย สำหรับเกษตรกร โดยปกติจะเลี้ยงกันมากในจังหวัดอางทอง และจังหวัดสุพรรณบุรี อยางไรก็

                    ตามในปจจุบัน เกษตรกรรายยอยไดเลิกเลี้ยงปลาชอนเกือบทั้งหมด เหลือเพียงรายใหญที่เปนผูรวบ

                    รวบและพอคาคนกลางที่ยังดำเนินธุรกิจอยู เกษตรกรรายยอยจังหวัดอางทองยังเหลือที่เลี้ยงบางแตก็

                    ลดนอยลง การเลี้ยงปลาชอนในพื้นที่นี้จะมีตนทุนเฉลี่ย 60.11 บาทตอกิโลกรัม ราคาขาย 62.29 บาท
                    ตอกิโลกรัม กำไรสุทธิคอนขางนอยไดเพียง 2.17 บาทตอกิโลกรัม ปลาชอนเลี้ยงในพื้นที่ภาคกลางจะ

                    กระจายไปสูจังหวัดตางๆ ทั่วประเทศ สาเหตุที่เกษตรกรผูเลี้ยงปลาชอนในพื้นที่สุพรรณบุรี และ

                    อางทองเลิกเลี้ยงและเลี้ยงนอยลง เนื่องจากมีอุปทานปลาชอนจากตางประเทศเขามาในประเทศ ปลา

                    ชอนเหลานี้ผานเขามาเปนจำนวนมาก ซึ่งเปนปลาชอนเลี้ยงจากประเทศเวียดนามและผานประเทศ

                    กัมพูชา เขามาสูประเทศไทย ซึ่งพบวาในประเทศเวียดนามสามารถเลี้ยงปลาชอนโดยมีผลผลิต
                    มหาศาล สามารถปลอยลูกพันธุไดอยางหนาแนนมาก จึงทำใหผลผลิตมีจำนวนมาก การเลี้ยงของ

                    ประเทศเวียดนามคอนขางไดเปรียบในเชิงภูมิศาสตรเนื่องจากติดกับแมน้ำโขง มีการเลี้ยงแบบใหน้ำ

                    จากแมน้ำโขงไหลเวียนผานเขามาในฟารมอยางตอเนื่อง จากตารางที่ 5. 4 พบ วา อัตราการปลอยลูก

                    พันธุของประเทศเวียดนาม (ประมาณ 160,000 ตัวตอไร) กับประเทศไทย (14,422.42 ตัวตอไร) มี

                    ความตางกันมากกวา 10 เทา และหากพิจารณาขนาดลูกพันธุ ลูกพันธุปลาชอนของประเทศเวียดนาม

                    มีขนาดใหญกวาลูกพันธุของประเทศไทย และราคาต่ำกวา สงผลใหประเทศเวียดนามสามารถผลิตได

                    ในตนทุนตอหนวยที่ต่ำกวา ราคาหนาฟารมของประเทศเวียดนามรวมคาขนสงผานประเทศกัมพูชามา
                    จนถึงตลาดรัตนธรรม จังหวัดสระแกว และเมื่อขนสงไปยังตลาดอางทองและตลาดไทจะมีราคา

                    ประมาณ 85-100 บาทตอกิโลกรัม จึงทำใหราคาปลาชอนเลี้ยงในจังหวัดอางทองและสุพรรณบุรี

                    ใกลเคียงกับปลาชอนนำเขา เพราะปลาชอนนำเขามีปริมาณมากจึงเปนการกำหนดราคาปลาชอนใน

                    ประเทศ จากการนำเขานี้จึงเปนสาเหตุทำใหเกษตรกรผูเลี้ยงปลาชอนในประเทศไทยสูราคาตลาดของ



                                                       หนา |106
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120