Page 118 -
P. 118

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                 สรุปทายบท จากกรณีศึกษาทั้ง 3 ชนิดสัตวน้ำ ปลาทูนา ปลากะพงขาว และปลาชอน เปน

                          ตัวอยางของสัตวน้ำที่สามารถแบงได 3 กลุม คือ ปลาทูนาที่มีการทำการประมงจากทะเลธรรมชาติ

                          กระบวนการจัดการจะมีความซับซอนคอนขางมากเนื่องจากในตนน้ำเปนการนำเขาปลาทูนาจาก
                          ตางประเทศ ดังนั้นตองคอยติดตามวามีมาตรฐานระดับสากลที่จะสามารถนำมาใชในกระบวนการแปร

                          รูปอยางถูกตองหรือไม และเปนผลิตภัณฑสัตวน้ำที่เนนการสงออกเปนสำคัญ อุปสรรคจึงเนนในเรื่อง

                          ของมาตรฐานในระดับตางๆ ของประเทศคูคาที่ตองมีการพัฒนาและปฏิบัติตามใหทันความตองการ

                          ของลูกคา ในสวนของปลากะพงขาวเปนการเพาะเลี้ยงสัตวน้ำชายฝง และปลาชอนที่เลี้ยงในน้ำจืด ซึ่ง

                          กระบวนการจัดการตั้งแตตนน้ำถึงปลายน้ำนั้นอยูภายในประเทศ ปญหาและอุปสรรคจึงเนนที่การทำ

                          มาตรฐานการเลี้ยงระดับประเทศ และการสรางมาตรฐานสำหรับการนำเขาที่ยังไมสามารถควบคุม

                          ปริมาณไดและยังสงผลกระทบตอภาพรวมของอุตสาหกรรม ซึ่งการศึกษาโซอุปทานของอุตสาหกรรม
                          สัตวน้ำเปนสวนที่มีความสำคัญที่จะทำใหทราบถึงการจัดการตั้งแตตนน้ำทางจนถึงปลายน้ำ ทราบ

                          ตนทุนและมูลคาสวนเพิ่ม รวมทั้งทราบถึงปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นตลอดหวงโซอุปทาน ทำใหสามารถ

                          นำไปวางแผนในการแกไขปญหา และพัฒนาไดอยางครบถวนทั้งอุตสาหกรรมตอไป












































                                                             หนา |109
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123