Page 117 -
P. 117

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                    บาท หากขายผานกลุมรานอาหารจะพบวา ตนทุนเฉลี่ย 205.15 บาท ขายได 400 บาทตอกิโลกรัม มี

                    กำไรเฉลี่ย 194.85 บาทตอกิโลกรัม ถือวาเปนการเพิ่มมูลคาที่สูงที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับการขายแบบ

                    สด หรือแปรรูปแดดเดียว (กุลภา และคณะ, 2563)


                           จากผลกระทบของการนำเขาจากประเทศเพื่อนบาน สงผลตอปริมาณอุปทานจำนวนมากใน
                    ประเทศ ราคาที่ขายจะถูกกำหนดจากอุปทานนำเขาและราคานำเขา ดังนั้นหากอุปทานมีจำนวนมาก

                    การที่จะเพิ่มรายไดจากการขายปลาชอน อาจจะตองมีการแปรรูปในรูปแบบอื่นๆ เพื่อเพิ่มมูลคา ซึ่ง

                    ควรจะพิจารณาจากอะไรบาง กอนที่ผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อ จากกรณีศึกษาของ กุลภา และคณะ

                    2563 พบวา จากการวิเคราะหผูบริโภคปลาชอนพบวาผูบริโภคไดใหความสำคัญกับเรื่องสุขภาพมาก

                    โดยปจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจบริโภคปลาชอนของผูบริโภคมากที่สุด คือ ความกังวล ดานอาหาร

                    ปลอดภัยมากที่สุด รองลงมา คือ ดานโภชนาการ ผูบริโภคปลาชอน ไดแก 1) กลุมที่ตองการบริโภค

                    ปลาชอนแปรรูปพรอมปรุงและพรอมรับประทาน 2) กลุมคนทำกับขาวซึ่งตองการบริโภคปลาชอนสด
                    และปลาชอนแปรรูปพรอมรับประทานและมีความออนไหวตอราคามาก และ 3) กลุมที่ชื่นชอบปลา

                    ชอน ซึ่งตองการผลิตภัณฑปลาชอนทุกรูปแบบ อยางไรก็ตามผูบริโภคสวนใหญยังมีความกังวล

                    เกี่ยวกับความปลอดภัยของปลาชอน ในเรื่องสารเคมีตกคาง การใชยาปฏิชีวนะ การรับประทานปลา

                    ชอนที่เปนโรค ฟารมเลี้ยงปลาหรือโรงงานแปรรูปไมไดมาตรฐาน ปลาสดไมสะอาด ผลิตภัณฑแปรรูป

                    ไมสะอาดและปลอดภัย และแหลงที่มาของปลาที่ไมชัดเจน


                          จากกรณีศึกษาโซอุปทานปลาชอนของประเทศไทย พบวา มีแนวทางในการพัฒนาโดย  ดาน
                    การผลิต ควรดำเนินการโดยการ 1) การวางแผนการผลิตตลอดโซอุปทานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นใน

                    กลุมผูเลี้ยงปลาชอนเดิม ไมตองเพิ่มหรือสนับสนุนการเลี้ยงมากขึ้น ทดลองเลี้ยงระบบน้ำวน 2) การ

                    พัฒนาสายพันธุปลาชอนใหมีอัตรารอดสูง ตรงความตองการของตลาด เพื่อลดตนทุนการเลี้ยง พัฒนา

                    ระบบแบบ smart-farm สำหรับดานการตลาดในการสรางความแตกตางใหแกปลาชอนไทย โดยการ

                    1) สรางตราสินคาปลาชอนไทย 2) การเขาสูชองทางการตลาดสมัยใหม 3) สรางเมนูปลาชอน เพื่อ

                    เพิ่มความหลากหลายในสินคา 4) สรางระบบการตรวจสอบยอนกลับเพื่อใหผูบริโภคมั่นใจในคุณภาพ

                    มาตรฐานและความปลอดภัย 5) พัฒนาทักษะเกษตรกรที่รวมกลุมกันใหมีการแปรรูปขั้นตนเพื่อ
                    จำหนายในชองทางออนไลน  สำหรับการนำเขาปลาชอน ควรปรับเปลี่ยนเปนการนำเขาจากรูปแบบ

                    ปลาชอนมีชีวิตเปนปลาชอนแบบแปรรูปขั้นตน เชน แชเย็น แชแข็ง ที่ตองมีมาตรฐานเทียบเทาของ

                    ประเทศไทย เพื่อเพิ่มขอจำกัดในการนำเขา


                                                       หนา |108
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122