Page 83 -
P. 83
ิ
ิ
ุ
ั
ิ
์
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
3. การใช้ล่ามในการประชุมเจรจา ท าให้ผู้เข้าประชุมเจรจา
รู้สึกผ่อนคลายมากขึ้น สามารถใช้เวลาที่ล่ามแปล สื่อสารกับอีกฝ่าย
ด้วยภาษาท่าทาง หรือใช้สมาธิไปกับการขบคิดเนื้อหา ลดความ
ผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นได้
การล่ามในการประชุมเป็นงานที่มีขั้นตอนแน่นอน
ิ
ึ
เช่นเดียวกับงานพธี สามารถเตรียมการล่วงหน้าได้ เรื่องที่พงทราบ
ในการปฏิบัติการล่ามในการประชุมมีดังนี้
1. การประชุมเจรจามักมีตัวแทนผู้เข้าประชุมหลายคนจากทั้ง
สองฝ่าย ล่ามต้องแม่นย าในการจ าข้อมูลชื่อและต าแหน่งของผู้เข้า
ประชุมเจรจา หากเป็นไปได้ควรศึกษาข้อมูลของทุกคนก่อน
ปฏิบัติงาน เมื่อถึงวันปฏิบัติงานต้องไม่จ าสับสน เรียกผิดเรียกถูก จะ
ท าให้เสียบรรยากาศของการประชุม
2. ในช่วงแรกของการประชุมเจรจา จะมีค ากล่าวของตัวแทน
ผู้เข้าประชุมเจรจาที่ร่างไว้ล่วงหน้า โดยทั่วไป ผู้ประสานงานจะมีการ
ส่งสคริปต์ของตัวแทนทั้งสองฝ่ายให้ล่ามก่อน ล่ามควรแปลมา
ล่วงหน้า ซึ่งจะช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปได้อย่างราบรื่น แต่
บ่อยครั้งพบว่าตัวแทนผู้เข้าประชุมอาจไม่กล่าวตามสคริปต์ที่ให้ไว้ มี
ทั้งกล่าวตามส่วนแรก เสริมค ากล่าวของตนไปนอกสคริปต์และไม่
กล่าวตามสคริปต์เลย ล่ามต้องสังเกตและปรับเปลี่ยนตามหน้างาน
ในกรณที่ตัวแทนผู้เข้าประชุมกล่าวไม่ตรงตามสคริปต์เลยก็อย่าได้
ี
แสดงอาการหงุดหงิดเพราะจะท าให้เสียบรรยากาศของการประชุม
เจรจา หากมีเนื้อหาที่ยากเกินไป เฉพาะทางเกินไปนอกเรื่องมาก
74 บทที่ 6 การล่ามในการประชุมเจรจา