Page 10 -
P. 10
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
ั
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ค ำน ำ
อาณาจักรล้านนามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับจีนมาตั้งแต่โบราณ
ในหนังสือพงศาวดารฉบับหลวงและเอกสารโบราณต่างๆ ของจีนมีบันทึก
เกี่ยวกับล้านนากระจัดกระจายอยู่เป็นจ านวนไม่น้อย เป็นหลักฐานที่มี
ความส าคัญกับการศึกษาประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ล้านนา-จีนเป็นอย่าง
มาก ในปี พ.ศ.2539 คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสาร
ภาษาจีน ส านักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี ได้พิมพ์หนังสือชื่อ “ปาไป่สีฟู่-ปา
ไป่ต้าเตี้ยน เชียงใหมในเอกสารประวัติศาสตร์จีนโบราณ” เผยแพร่ในโอกาส
่
สถาปนาเชียงใหม่ครบ 700 ปี โดยภาคที่ 1 “เชียงใหม่ในเอกสาร
ประวัติศาสตร์จีนโบราณ” เป็นบทวิเคราะห์ที่เขียนโดยวินัย พงศ์ศรีเพียร
นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์ ภาคที่ 2 “หยวนสื่อและหมิงสือลู่” เป็นบท
แปลเอกสารโบราณจีนที่เกี่ยวกับล้านนา โดยเอกสารนั้นแปลจาก “หยวน
สื่อ” “หมิงสือลู่” และมีเอกสารโบราณอีกชิ้นคือ ที่ได้แปลไว้แต่ไม่มีชื่อเป็น
ชื่อหัวข้อของ “ภาคที่ 2” อยู่เล่มหนึ่งคือ “เจาปู่จ่งลู่” รวมแปลส่วนที่
ั
เกยวข้องกบล้านนาจากเอกสารโบราณของจีน 3 รายการ หนังสือดังกล่าวมี
ี่
คุณค่ายิ่งต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์จีน-ไทยเป็นอย่างยิ่ง
อย่างไรก็ดี เอกสารโบราณของจีนที่กล่าวถึงล้านนามีจ านวน
มากกว่านั้น หวงฉงเหยียน(黄重言)และอี๋ว์ติ้งปัง(余定邦)ได้
คัดสรรรวบรวมเอกสารโบราณเกี่ยวกับล้านนาไว้ในบทที่ 4 และบทที่ 6
ของหนังสือ “รวมข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในเอกสารโบราณของจีน”
( 《中国古籍中有关泰国资料汇编》 )(ต่อไปเรียกหนังสือ
เล่มนี้ว่า “ฉบับรวมคัดสรร”) ของส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยปักกิ่ง โดยได้คัด
สรรข้อความต่างๆ จากเอกสารโบราณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับล้านนามาถึง