Page 5 -
P. 5
ั
ิ
ุ
ื
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
พื้นเมืองเชียงใหม่ ฉบับหลักจ านวนแปดผูก (ถูกใช้เป็นหลักในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ล้านนา) ไม่ปรากฏเรื่องของจีน หรืออาณาจักรจีนเลย ตั้งแต่
สมัยพระญามังราย ไชยสงคราม แสนพู ค าฟู ผายู กือนา แสนเมืองมา เรื่อง
ของจีนมาปรากฏสมัยสามฝั่งแกน (ล าดับที่ 8) เมื่อจีนยกทัพมารบกับล้านนา
น่าสังเกต ต านานของเชียงใหม่ เริ่มชัดเจนขึ้นมากตั้งแต่สมัยของพระญาสาม
ฝั่งแกนเป็นต้นมา เนื่องจากได้รับอิทธิพลการเขียนงานประวัติศาสตร์สกุล
ต านานจากลังกา จึงเริ่มมีงานเขียนเชิงต านานเกิดขึ้น (ซึ่งยังไม่แพร่หลาย)
งานต านานมาสมบูรณ์จริงๆสมัยพระญาแก้ว หรือ พระเมืองแก้ว (ยุคทอง
วรรณกรรม) ดังนั้น เนื้อหาเรื่องราวก่อนหน้าสมัยพระญาสามฝั่งแกนนั้น
จึงเป็นค าบอกเล่าอันเก่าแก่ ที่ขาดการบันทึกอย่างเป็นระบบและรับอิทธิพล
สกุลต านานที่ให้ความส าคัญต่อความเชื่อของพุทธศาสนา
พงศาวดารราชวงศ์หยวนช่วยเปิดโฉมหน้าของหลักฐานล้านนาในอีก
ด้านหนึ่งที่ขาดหายไปจากต านาน มีรายละเอียดหลายกรณีด้วยกัน ในที่นี้
ขอยกตัวอย่าง เฉพาะยุคต้นของล้านนา สภาพการเมืองที่มีความเคลื่อนไหว
ของเจ้านายเชื้อพระวงศ์แย่งชิงอ านาจกัน ภายใต้การแย่งชิงอ านาจ ชื่อของ
เจ้าน้ าท่วมในหลักฐานจีนมีบทบาทโดดเด่น แสดงการรับรู้ของฝ่ายจีน ใน
ฐานะโอรสผู้ปรีชา เจ้าน้ าท่วมเคยท าหน้าที่ต้อนรับทูตจีนเมื่อ พ.ศ.1856
ครน พ.ศ.1869 ส่งเจ้าราชบุตรของพระองค์ไปถวายบรรณาการ และอีกสอง
ั้
เดือนในปี พ.ศ.1869 ส่งบรรณาการอีกครั้ง และในปี พ.ศ.1870 ส่ง
ั้
บรรณาการอีกเป็นครงที่สาม เจ้าน้ าท่วมต้องการให้จีนช่วยสนับสนุนอ านาจ
ของพระองค์ อย่างไรก็ตาม พระญาแสนพู “โอรสรัก” ของพระญาไชยสงคราม
ยึดอ านาจส าเร็จ พ.ศ.1870 เรื่องราวของเจ้าน้ าท่วมในหลักฐานจีน ช่วยให้