Page 55 -
P. 55

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                 พจนานุกรมศัพท์ปุ๋ยและธาตุอาหารพืช




               algal bloom สำหร่ำยสะพรั่ง : ปรากฏการณ์ที่สาหร่ายเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว จนปกคลุมผิวน�้า
                     หนาแน่น ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสิ่งมีชีวิตอื่น เนื่องจากน�้ามีสารอาหารมากเกิน โดยเฉพาะ
                     อย่างยิ่งฟอสเฟตไอออน
               alginates สำรสกัดจำกสำหร่ำยทะเล : สารหลายชนิดที่สกัดจากสาหร่ายทะเลโดยกรรมวิธีต่าง ๆ น�ามา

                     ใช้เพื่อช่วยให้พืชเจริญเติบโตดีขึ้น
                                                                                          2-
               alkali  แอลคำไล  :  ศัพท์ทั่วไปใช้เรียกไฮดรอกซิลไอออน  (OH)  หรือคาร์บอเนตไอออน  (CO )  ของ
                                                                 -
                                                                                         3
                     แอมโมเนียมไอออน (NH ) และของโลหะซึ่งอยู่ในหมู่ IA ของตารางธาตุ เช่น Li, Na และ K
                                        +
                                        4
               alkali  metal  โลหะแอลคำไล  : ชื่อของธาตุโลหะในหมู่ IA ของตารางธาตุ เช่น K (ธาตุอาหารหลัก)
                     และ Na (ธาตุเสริมประโยชน์)
               alkali  soil  ดินแอลคำไล  :  ดินซึ่งมีโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได้สูงกว่า  15%  และการน�าไฟฟ้าต�่ากว่า  4
                     เดซิซีเมนส์/เมตร  ปัจจุบันเรียกว่าดินโซดิก  (sodic  soil)  พืชที่ปลูกมักเป็นพิษจากโซเดียมและ
                     ขาดโพแทสเซียม

               alkaline earth แอลคำไลน์เอิร์ท : ออกไซด์ของโลหะแอลคาไลน์เอิร์ท (alkaline earth metal) เช่น
                     แคลเซียมออกไซด์ (CaO) และแมกนีเซียมออกไซด์ (MgO)
               alkaline earth metal โลหะแอลคำไลน์เอิร์ท : ธาตุที่อยู่ในหมู่ IIA เช่น Mg, Ca และ Ba
               alkaline soil ดินด่ำง : ดินที่มีค่าพีเอช (pH) สูงกว่า 7 แต่เนื่องจากการก�าหนดปฏิกิริยาดินเป็นกลาง

                     หมายถึงดินที่มีค่าพีเอช 6.6-7.3 ดังนั้น ค่าพีเอชของดินด่างจึงควรสูงกว่า 7.3 พืชที่ปลูกในดินด่าง
                     อาจขาดธาตุเหล็ก ทองแดง แมงกานีส หรือสังกะสี (alcalinus, L: ด่าง)
               alkalinity,  soil  สภำพด่ำงของดิน  :  ปริมาณด่างที่มีอยู่ในดิน  หรือเรื่องราวของดินด่าง  (pH>7)  ใน
                     ด้านความรุนแรงของสภาพด่าง ซึ่งแสดงได้ด้วยค่า pH ของดิน เช่น ด่างเล็กน้อย (พีเอช 7.4-7.8)

                     เช่น ด่างปานกลาง (พีเอช 7.9-8.4) และด่างจัด (พีเอช 8.5-9.5)
               alkalinophile พวกชอบด่ำง : สิ่งมีชีวิตที่เจริญเติบโตได้ดีในดินที่เป็นด่าง (pH สูงกว่า 7)
               alkaloid แอลคำลอยด์ : เมแทบอไลต์ทุติยภูมิประเภทหนึ่ง เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทวงแหวน
                     ซึ่งมีไนโตรเจนอยู่ในโครงสร้างอย่างน้อยหนึ่งวงแหวน  สังเคราะห์จากกรดอะมิโนหลายชนิด  เช่น

                     ทริพโทเฟน ไทโรซีน ฟีนิลอะลานีน ไลซีน และอาจินีน พบสารประเภทนี้มากกว่า 12,000 ชนิด
                     ใน  20%  ของจ�านวนพืชดอกทั้งหมด  สารบางชนิดช่วยยับยั้งการท�าลายจากแมลง  หรือมีผลต่อ
                     ระบบประสาทของสัตว์กินพืช แอลคาลอยด์ที่รู้จักกันทั่วไป ได้แก่ แคฟเฟอีน ควินิน และนิโคติน
               allantoin nitrogen แอลแลนทอยน์ไนโตรเจน : สารประกอบไนโตรเจนอินทรีย์ในกลุ่มยูรีไอด์ (ureides)

                     ซึ่งมีสูตรเคมี C H N O  มีอยู่ในปมรากถั่ว อาจเปลี่ยนเป็นกรดแอลแลนโทอิก (allantoic acid)
                                 4 6 4 3
                     ด้วยเอนไซม์แอลแลนทอยเนส  (allantoinase)  พืชตระกูลถั่วที่มีก�าเนิดในแถบร้อนชื้น  เช่น
                     ถั่วเหลืองจะเคลื่อนย้ายไนโตรเจนที่ไรโซเบียมในปมรากตรึงได้  ไปยังส่วนเหนือดินทางไซเล็มในรูป
                     ของสารยูรีไอด์ แอลแลนทอยน์ และกรดแอลแลนโทอิก



                                                                               40 ปี       55
                                                           สมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60