Page 44 -
P. 44
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภาพที่ 3.1 แผนผังของการวางท่อใต้ดินในโรงเรือนเพื่อช่วยแพร่กระจายไอน�้าร้อนส�าหรับฆ่าเชื้อในดินได้อย่าง
ทั่วถึง
ที่มา: Maloy (1993)
ตารางที่ 3.4 ความสัมพันธ์ระหว่างความดันและอุณหภูมิของไอน�้าร้อน
ความดัน อุณหภูมิ
(ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) °C °F
5 108 226
10 116 240
15 121 250
20 127 260
25 131 267
30 134 274
ที่มา: Maloy (1993)
ไอน�้าร้อนได้ถูกน�ามาผสมกับมวลของอากาศ (aerated steam) เพื่อรักษาระดับความร้อนของไอน�้า
ให้สม�่าเสมอ และลดความเสียหายของวัสดุเนื่องจากการใช้ไอน�้าเพียงอย่างเดียว การผสมอากาศในไอน�้าร้อน
จะให้ผลเช่นเดียวกับการผสมอากาศในไอน�้าร้อนภายใต้ความดัน (pressured steam) ซึ่งจะท�าให้อุณหภูมิของ
ไอน�้าร้อนลดต�่าลงกว่า 100 องศาเซลเซียส โดยระดับอุณหภูมิที่ต�่าลงนี้ยังคงมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อ
จุลินทรีย์ที่ก่อโรคทางดินหรือจุลินทรีย์ที่ติดมากับท่อนพันธุ์ได้ เช่น Rhizoctonia solani, Pythium sp.,
Fusarium roseum และ Colletotrichum coccodes เป็นต้น ส�าหรับระดับอุณหภูมิที่สามารถฆ่าเชื้อ
จุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชชนิดอื่น ๆ ได้แสดงไว้ในภาพที่ 3.2
37
บทที่ 3 การควบคุมโรคพืชโดยวิธีกายภาพ
ผู ้ ช ่ วยศาสตราจารย ์ ดร.วีระณีย ์ ทองศรี