Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว























               รูปที่ 3.12 ตัวอยางการเขารหัสขอมูลแบบบล็อก: พื้นที่ศึกษา (ซาย), วิธีการบันทึกขอมูลลงในจุดภาพ

               (กลาง) และวิธีการจัดเก็บขอมูล (ขวา)


               3.3.4 วิธีเขารหัสแบบควอดทรี (Quad-tree)



               วิธีนี้เปนวิธีสุดทายในการเขารหัสขอมูลซึ่งดัดแปลงมาจากการเขารหัสแบบบล็อกและเปนวิธีที่ยุงยาก

               ที่สุดในบรรดา 3 วิธีดังกลาวมาแลวขางตน  และวิธีนี้ถือวาเปนวิธีการจัดเก็บขอมูลแรสเตอรเปนแบบ

               ลําดับขั้นตอน (Hierarchical Raster  Data Structure)  เปนตนแบบการยอและขยายขนาดภาพดวยการ
               รวมจุดภาพขนาดจัตุรัสจํานวน 4  จุดภาพเขาดวยกันเปน 1 จุดภาพ เปนลักษณะคลายกิ่งของตนไม

               ดังนั้นจึงเรียกวา ควอดทรี (Quad-Tree)  แลวบันทึกขอมูลที่บีบอัดแตละจุดภาพ ตามโครงสรางขอมูล

               แบบปรามิด (Pyramidal Data Structure) แสดงดังรูปที่ 3.13 และเมื่อขอมูลทั้งสี่จุดภาพมีคาเทากันแลว
               ก็จะทําการยุบรวมกันเปนคาเดียวโดยใชหลักการแบบบล็อกที่ใหญที่สุดเขามาชวยแสดงดังรูปที่ 3.14

               จะเห็นไดวาเมื่อพื้นที่มีลักษณะเปนผืนเดียวกันมากเทาไรยอมทําใหการบีบอัดโครงสรางขอมูลจะไดมาก

               ขึ้น






















               รูปที่ 3.13 ตัวอยางวิธีการจัดเก็บขอมูลแรสเตอรเปนแบบลําดับขั้นตอน: โครงสรางแบบปรามิด (ซาย)

               และปรามิดที่วาดแบบควอดทรี (ขวา)




                                                          -56-
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70