Page 67 -
P. 67

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               รูปที่ 3.15 อธิบายถึงหนาที่ของโทโพโลยีทั้ง 3 ประการ  ตรงกับแผนภาพของเวน (Venn Diagram)

               ความสัมพันธแบบแตกตางตรงกับ พื้นที่ในสวน ก และ ข ความสัมพันธแบบทับซอนซึ่งตรงกับพื้นที่ใน
               สวน ค  และ ความสัมพันธแบบรวมกลุมตรงกับพื้นในสวน ก ข และ ค




                                            ก          ค    ข




                        รูปที่ 3.15 แผนภาพแสดงของโทโพโลยีอาศัยหลักการภาพของเวน (Venn Diagram)



               โทโพโลยีของสาลักษณมีคุณสมบัติที่ยังคงรักษารูปทรงของสาลักษณเดิมแมวาสาลักษณนั้นจะรวมกับ
               สาลักษณอื่นก็ยังสามารถคาดเดาโครงสรางหรือรูปรางได  (ในที่นี้ยังหมายรวมถึงการไมเปลี่ยนแปลง

               แมจะมีการเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพก็ตาม)  อยางเชน รูป 3.15 ที่วัตถุ ก ก็ยังคงเปนวัตถุ ก แมจะมี

               พื้นที่รวมกันกับวัตถุ ข ก็ตาม  อรรถประโยชนของโทโพโลยียังชวยหลีกเลี่ยงการบันทึกขอมูลซ้ําระหวาง

               สาลักษณแบบพื้นที่ที่ใชขอบและจุดตอรวมกันดวยหลักการนี้การบันทึกขอมูลรูปปดหลายเหลี่ยมจะ
               รวบรวมขอมูลเฉพาะเสนขอบรวมเพียงเสนเดียวเทานั้น ดวยหลักการนี้จึงทําใหการจัดเก็บรวบรวม

               ขอมูลตามโครงสรางแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยีนี้จึงตองการพื้นที่ในการจัดเก็บไฟลขอมูลนอย

               ตัวอยางโครงสรางแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยีแสดงดังรูปที่ 3.16


               รูปที่ 3.16 แสดงการจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางเวกเตอรชนิดโทโพโลยี รูปปดหลายเหลี่ยม A และรูป

               ปดหลายเหลี่ยม B จะเห็นไดวาทั้งสองรูปมีขอบ cd เปนขอบรวม




















                                     รูปที่ 3.16 โทโพโลยีของรูปปดหลายเหลี่ยมที่อยูติดกัน





                                                          -58-
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72