Page 62 -
P. 62

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                                            =    −                                             (3.2)
                                            
                                                0

                            i
                       เมื่อ y     คือ คาพิกัดภูมิศาสตรที่พิกัดภาพที่ i
                       j           คือ ตําแหนงที่ของพิกัดภาพ j = 0, 1, 2, … , r (จํานวนแถว)

                       y           คือ คาพิกัดภูมิศาสตรที่พิกัดภาพที่ i = 0 ที่ตําแหนงบนซาย
                        0
                       P           คือ ขนาดภาพ


               ตัวอยางที่ 3.1 จงคํานวณหาพิกัดภูมิศาสตรของตําแหนงลางขวาปลายสุดของพื้นที่เกษตรกรรมซึ่ง

               แสดงในรูปที่ 3.9 โดยภาพนี้มีจุดเริ่มตนบนซายดวยพิกัดภาพ (1,1) และพิกัดภูมิศาสตรในระบบ UTM

               WGS84  ที่ 669,633.32 เมตร  (E) และ 1,531,206.18 เมตร  (N) กําหนดใหภาพนี้มีขนาดภาพเทากับ
               100 เมตร



               วิธีทํา เมื่อพิจารณาสมการที่ 3.1 และ 3.2 ดังนั้น คา x  และคา y  เทากับ 669,633.32 เมตร  และ
                                                                          0
                                                                0
               1,531,206.18 เมตร และโจทยกําหนดให ขนาดภาพเทากับ 100 เมตร เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 3.9 ถึง
               ตําแหนงลางขวาปลายสุดของพื้นที่เกษตรกรรมพบวาตรงกับพิกัดภาพสดมภที่ 4 และแถวที่ 3  หรือ

               คูลําดับ (4,3) ดังนั้นคา i = 4 และ j = 3 ตามลําดับ ดังนั้นคาพิกัดภูมิศาสตรของตําแหนงดังกลาวใน

               แนวเหนือ-ใตมีพิกัด คือ


                                = 669,633.32 + 4 ∗ 100 =  670,033.32 เมตร (E)  และ
                              3
                                = 1,531,206.18 − 3 ∗ 100 =  1,530,906.18  เมตร (N)
                              4


               เนื่องจากการเก็บขอมูลแบบแรสเตอรจะมีปริมาณการเก็บขอมูลขึ้นอยูกับขนาดของความกวางและ

               ความยาวของพื้นที่ศึกษายิ่งพื้นที่ศึกษามีขนาดใหญและเก็บขอมูลดวยความละเอียดสูง (ทศนิยมหลาย
               ตําแหนง)  ยอมตองการพื้นที่ในการจัดเก็บมาก เมื่อเทียบกับการจัดเก็บขอมูลแบบเวกเตอรดังนั้นการ

               จัดเก็บขอมูลแบบแรสเตอรจึงตองอาศัยกระบวนการในการบีบอัดขอมูล


               กระบวนการบีบอัดขอมูลแรสเตอรสามารถบีบอัดขอมูลตามวิธีของ Anji (2008) ได  4 วิธี คือ วิธี

               เขารหัสวิ่งยาว (Run-Length Code) วิธีเขารหัสลูกโซ (Chain Code) วิธีเขารหัสแบบบล็อก (Block Code)

               และวิธีเขารหัสแบบควอดทรี (Quad-tree)  รายละเอียดแตละโครงสรางดังจะไดอธิบายในหัวขอยอย

               ตอไป




                                                          -53-
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67