Page 60 -
P. 60

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                           ตารางที่ 3.3 การกําหนดรหัสและคําอธิบาย แบงตามประเภทของสาลักษณ

                                          ที่มา:ดัดแปลงจาก (Star and Estes, 1990)
                                 จุดตอเชื่อม (Node)                             เสน

                     รหัส (Code)      คําอธิบาย (Description)    รหัส (Code)  คําอธิบาย (Description)

                     050 0001      Upper end of stream          050 0200      Shore Line

                     050 0004      Stream entering water body  050 0201       Man-made shore Line
                     050 0005      Stream leaving water body

                                       พื้นที่                        เสนทะลุ (Degenerate Line)

                     050 0101      Reservoir                    050 0300      Spring

                     050 0103      Glacier                      050 0302      Flowing well
                     050 0106      Fish Hatching

                            อรรถาธิบายวัตถุประสงคทั่วไป             อรรถาธิบายเชิงบรรยายทั่วไป

                             (General Purpose Attribute)             (General Descriptive Attribute)

                     050 0400      Rapid                        050 0601      Underground
                     050 0401      Falls                        050 0603      Elevated

                     050 0402      Dam or Weir                  050 0604      Tunnel



               3.3 โครงสรางขอมูลแบบแรสเตอร (Raster Data Structure)


               ดังไดกลาวมาแลววาโครงสรางขอมูลแบบแรสเตอรจะมีความเหมาะสมในการแสดงลักษณะเฉพาะของ

               ขอมูลที่มีความตอเนื่อง เชน ภาพวาด ภาพถายทางดาวเทียม ภาพถายทางอากาศ และยิ่งวัตถุนั้นหรือ
               พื้นที่นั้นไมมีการกําหนดขอบเขตของขอมูลที่แนนอนการเลือกใชโครงสรางขอมูลแบบแรสเตอรนี้จึงถือ

               วาเหมาะสมที่สุด  เนื่องจากลักษณะขอมูลแบบแรสเตอรนี้มีลักษณะเปนจุดภาพ 1  จุดจะเก็บขอมูลได

               เพียง 1 คาเทานั้นเอง จึงทําใหเกิดจุดเดนในดานที่มีโครงสรางไมซับซอน ทําใหประมวลผลเปรียบเทียบ
               ระดับจุดภาพที่ตําแหนงเดียวกันระหวางชั้นขอมูลแตละชั้นนี้มีความสะดวก และการจําลองสาลักษณจะ

               ใชหลักการของจุดภาพเพื่อสรางสาลักษณของจุด เสนและรูปปดหลายเหลี่ยมดังแสดงการเปรียบเทียบ

               ในรูปที่ 3.2  ที่ผานมา ตัวอยางการจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางแรสเตอรแบบงายแสดงดังรูปที่ 3.9
               สมมติวาพื้นที่ศึกษา (รูปทางดานซายมือ) เปนพื้นที่ศึกษาที่ประกอบไปการใชที่ดิน 3 ประเภท คือพื้นที่

               วางเปลาแทนดวยรหัส 0 พื้นที่อางเก็บน้ําแทนดวยรหัส 1 และพื้นที่เกษตรกรรมแทนดวย 2 ซึ่งสามารถ

               จัดเก็บขอมูลผลลัพธตามโครงสรางแรสเตอรแบบงายไดดังรูปที่อยูตรงกลาง และวิธีการจัดเก็บขอมูล

               (รูปทางดานขวามือ) บันทึกเปนแถวซึ่งแถวแรก คือ รหัส 5,4,3 หมายถึง ไฟลนี้มีขอมูลขนาดยาว 5



                                                          -51-
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65