Page 56 -
P. 56
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
3.2.4 ระบบโครงสรางแบบความสัมพันธ (Relational Structure)
โครงสรางการเก็บขอมูลแบบนี้ถือวาเปนโครงสรางการเก็บขอมูลแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อมอีก
ประเภทหนึ่ง ขอแตกตางเพียงประการเดียวคือ ขอมูลอรรถาธิบายที่ถูกจัดเก็บไวตามโครงสรางการ
เก็บขอมูลแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อมจะบันทึกขอมูลรวมกับขอมูลโทโพโลยีของวัตถุ แตถาเปน
โครงสรางแบบความสัมพันธจะเก็บขอมูลอรรถาธิบายแยกเปนอิสระจากขอมูลโทโพโลยี กลาวคือจะมี
การจัดการขอมูลอรรถาธิบายในรูปแบบตารางความสัมพันธ เชนเดียวกับฐานขอมูลเชิงสัมพันธใน
ระบบการจัดการฐานขอมูลทั่วไป (ซึ่งจะอธิบายในบทที่ 6 เรื่อง “การสรางและจัดการขอมูล” ตอไป)
ดังนั้นจึงตองมีไฟลหลายไฟลและตองมีตัวเชื่อมโยงไฟลเหลานั้น ตัวอยางการจัดเก็บขอมูลตาม
โครงสรางแบบความสัมพันธ แสดงดังรูป 3.8
ถนนงามวงศวาน
ถนนรัชวิภา ถนนวิภาวดีรังสิต
ก
1 2
ง เขตบางเขน ข
ค
4 3 ถนนพหลโยธิน
ก. พื้นที่ศึกษา
ข. ขอมูลทางแยก
พิกัดตําแหนงทางแยก (Nodes)
ทางแยกที่ ตะวันออก (East m) เหนือ (North m)
1 668754.99 1531418.53
2 668328.40 1529529.13
3 670274.88 1530613.85
4 669485.94 1529173.14
รูปที่ 3.8 โครงสรางขอมูลแบบแบบความสัมพันธ
-47-