Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ตําแหนงจุดที่เปนจุดรวมของรูปปดที่หลายรูปก็จะตองตามไปแกไขพิกัดของทุกรูปปดเพื่อปองกันความ

               ผิดพลาดในการเปนจุดรวมนั้นเอง ดวยการเลือกจัดเก็บฐานขอมูลเชิงพื้นที่ดวยวิธีการนี้ การแกไข
               ปรับปรุงและบันทึกขอมูลยอมหลีกไมพนที่จะตองแกไขโครงสรางเชิงโทโพโลยีของขอมูลซึ่งถือวาเปน

               งานที่ซ้ําซอนและยาก (Star and Estes, 1990)


                                   รูปปดหลายเหลี่ยม                       รูปปดหลาย     พิกัด

                                                                           เหลี่ยมรูปที่

                                                                                1          1,1

                                                                                           0,3
                                                                                           3,7

                                                                                           6,4

                                                                                           5,0

                                                                               2           5,0
                                                                                           6,4

                                                                                           9,6

                                                                                          10,0

                                                                               3           6,4
                                                                                           3,7

                                                                                           5,8

                                                                                           9,6

                      รูปที่ 3.5 การจําลองโครงสรางขอมูลดวยระบบบันทึกพิกัดลอมรูปปดหลายเหลี่ยมทั้งรูป
                                                  (Whole Polygon System)



               3.2.2 ระบบแผนที่เขารหัสคูแบบอิสระ (Dual Independent Map Encoding, DIME)


               ระบบแผนที่เขารหัสคูแบบอิสระ  ถูกพัฒนาเพื่อใชงานโดยสํานักสํารวจสํามะโนประชากร ประเทศ

               สหรัฐอเมริกา โดย Cooke and Maxfield (1967) ระบบนี้ถูกออกแบบเพื่อใหเขากันกับระบบฐานขอมูล

               ลักษณะภูมิประเทศเดิม ในการวิเคราะหสถิติสํามะโนประชากรของประเทศ


               สาลักษณแบบเสน จะองคประกอบพื้นฐานของการจัดเก็บฐานขอมูลแบบนี้ ซึ่งเสนจะถูกบันทึกดวยจุด

               ปลายสองจุด หรือจุดตอเชื่อม แสดงดังรูปที่ 3.6


                                                          -43-
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57