Page 50 -
P. 50

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว








                          แบบจําลองเวกเตอรชนิดสปาเกตตี                          การบันทึกขอมูล
                                                                      R1,3 (ชื่อรูปปดฯและจํานวนแถว)

                                                                      1,9   (พิกัดเริ่มตน)

                                                                      6,5

                                                                      5,1
                                                                      1,9   (บรรจบที่พิกัดเริ่มตน)

                                                                      R2,4 (ชื่อรูปปดฯและจํานวนแถว)

                                                                      5,1   (พิกัดเริ่มตน)
                                                                      6,5

                                                                      9,7

                                                                      10,0
                                                                      5,1   (บรรจบที่พิกัดเริ่มตน)



                                รูปที่ 3.3 การจําลองโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรชนิดสปาเกตตี


                              -  แบบจําลองขอมูลชนิดโทโพโลยี คือ  เปนแบบจําลองที่มีการกําหนดตัวแทนของ

               วัตถุที่มีลักษณะประกอบไปดวยจุดตอ (Node) (ซึ่งจะมีพิกัดอางอิง) สวนโคง (Arc) หรือเสนขอบ (Edge)
               และพื้นที่ปดหลายเหลี่ยมที่ ที่มีเสนขอบกํากับ ขอดีของการจัดเก็บขอมูลในลักษณะนี้คือ วัตถุแตละ

               ชนิดจะบงบอกถึงความสัมพันธกับวัตถุใกลเคียงกัน ตัวอยางแสดงดังรูปที่ 3.4  เชน ดานซายและ

               ดานขวาของเสน b จะมีรูปหลายเหลี่ยมที่ชื่อ R1 และ R2 กํากับอยูตามลําดับ


               Star. and Estes. (1990) กลาวไววา รูปแบบโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยีทั่วไปมีหลาย

               แบบ เชน ระบบรูปปดหลายเหลี่ยม (Whole Polygon  System) ระบบแผนที่เขารหัสคูแบบอิสระ (Dual
               Independent Map  Encoding,  DIME) โครงสรางแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อม (Arc-Node Structure)

               โครงสรางแบบความสัมพันธ (Relational  Structure)  และแบบกราฟเสนเชิงเลข  (Digital  Line Graph)

               รายละเอียดแตละโครงสรางดังจะไดอธิบายในหัวขอยอยตอไป









                                                          -41-
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55