Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
แบบจําลองเวกเตอรชนิดสปาเกตตี การบันทึกขอมูล
R1: a, b, c
R2: c, d, e, f
a: A, B, R1
b: B, C, R1, R2
c: A, C, R1
d: C, D, R2
e: D, E, R2
f: B, E, R2
A: (1,9), a,c
B: (6,5), a, b, f
C: (5,1), b, c, d
D: (10,0), d, e
E: (9,7), e, f
รูปที่ 3.4 การจําลองโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยี
3.2.1 ระบบบันทึกพิกัดลอมรูปปดหลายเหลี่ยมทั้งรูป (Whole Polygon System)
ระบบบันทึกพิกัดลอมรูปปดหลายเหลี่ยมทั้งรูป Star and Estes (1990) ไดกลาวโดยสรุปไววา การ
จัดเก็บฐานขอมูลตามระบบนี้ฐานขอมูลจะถูกแบงไปตามกลุมของรูปปดหลายเหลี่ยม รูปปดหลาย
เหลี่ยมแตละรูปจะถูกเขารหัส ในฐานขอมูลที่เปนลําดับเรียงตามตําแหนง/พิกัดที่ถูกปดดวยเสนขอบที่
ลอมรอบพื้นที่ปดนั้นหรือเรียกวาเสนวนขอบ (Boundary loop) ซึ่งการเขารหัสของรูปปดหลายเหลี่ยมแต
ละรูปจะเปนอิสระตอกัน ระบบนี้การจัดเก็บขอมูลรูปหลายเหลี่ยมจะแทนดวยพิกัดที่ปดลอมรูปหลาย
เหลี่ยมนั้นโดยบันทึกวนจุดเริ่มตนตอเนื่องกันไปจนครบรอบแลวบันทึกจุดสุดทายตรงตําแหนงเริ่มตน
ขอมูลอรรถาธิบาย ของรูปปดหลายเหลี่ยมแตละรูปจะถูกจัดเก็บโดยเชื่อมโยงกับกลุมของจุดหักเห
ดังกลาวขางตนไวดวยกัน ตัวอยางดังแสดงในรูป 3.5
เมื่อมีการแกไขและปรับปรุงลักษณะเรขาคณิตของรูปปดหลายเหลี่ยมใด ๆ ตามโครงสรางแบบนี้ ของ
ลักษณะทางโทโพโลยีของรูปปดใด ๆ ก็จะมีอิสระตอกัน กลาวคือรูปปดที่อยูติดกันจะไมมีการ
เปลี่ยนแปลงโทโพโลยีตามการแกไขรูปปดนั้น ถาหากมีการแกไขตรงขอบรวมของรูปปดที่ติดกันก็
อาจจะเกิดความผิดพลาดทางรูปทรงและตําแหนงที่บันทึกในแตละรูปได และถาหากแกไขขอมูล
-42-