Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               สรางแบบจําลองเชิงพื้นที่ที่ใหคาความละเอียดที่ดีกวา สูงกวาและความตองการพื้นที่ในการจัดเก็บ

               ขอมูลที่นอยกวาขอมูลโครงสรางแบบแรสเตอร


               ดังไดกลาวมาแลววาโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรมีจุดเดนที่สําคัญคือดานการเก็บขอมูลในไฟลจะตอง

               การพื้นที่ในการจัดเก็บนอยกวาและยังเหมาะสมกับโครงสรางพื้นฐานที่มีลักษณะเปนรูปหลายเหลี่ยม
               (มีขอบที่ชัดเจน) และจุดเดนที่สําคัญอีกประการคือ ถาหากพื้นที่นั้นแนวขอบเขตแบบคดโคงซึ่งตองการ

               ความแมนยําทางตําแหนงในการแบงแยกพื้นที่ตามแนวเขตอยางชัดเจน ดังนั้นจึงตองอาศัยโครงสราง

               แบบ ตัวอยางเชนถาตองการแบงแนวขอบเขตประเทศตามแนวลําน้ําตองลากเสนขอบไปยังตําแหนง
               กลางหรือซาย/ขวาของลําน้ํานั้น



               3.2 โครงสรางขอมูลแบบเวกเตอร (Vector Data Structure)



               การจําลองวัตถุในโลกแหงความเปนจริงดวยโครงสรางแบบเวกเตอร มีโครงสรางการจําลองดวยสา

               ลักษณ ที่มีลักษณะรูปแบบอยางงายไปจนถึงรูปแบบอยางยากได ซึ่งตัวอยางของการจําลองดวยแบบ

               เสนที่เปนรูปแบบอยางงายที่สุด เชน    เสนทางถนนที่เปนเสนตรง สวนรูปแบบที่ซับซอนเชน เสนแมน้ํา
               ที่มีความโคงเอียงไปมา เนื่องจากการจําลองดวยโครงสรางแบบเวกเตอรมีขอดีคือมีความถูกตองทาง

               ตําแหนงและแสดงรูปทรงทางเรขาคณิตไดดีกวางการจําลองแบบแรสเตอร ซึ่งไดกลาวมาแลววาการ

               จําลองดวยโครงสรางแบบนี้เหมาะสําหรับวัตถุที่เปนรูปทรงทางเรขาคณิตที่สามารถแยกเปนชิ้นหรือ
               เปนสวน ๆ ได เชน โครงสรางพื้นฐานทั่วไป



               ดังที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 1 คือ รูปเรขาคณิตทั่วไปที่ใชแทนวัตถุที่อยูจริงบนโลกจะสามารถแทนดวย
               สาลักษณหลัก ๆ 3 แบบคือ จุด เสนและรูปปดหลายเหลี่ยม และยังมีรูปแบบยอยที่เพิ่มมาอีกอันคือเสน

               หักโคงเชื่อมตอ (Polyline)  ดังแสดงในรูปที่ 3.2 เปนการเปรียบเทียบการจําลองวัตถุดวยสาลักษณ

               ระหวางโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรและแรสเตอร


               แบบจําลองขอมูลโครงสรางแบบเวกเตอรสามารถจําแนกออกเปน 2 ประเภทคือ แบบจําลองขอมูล

               ชนิดสปาเกตตี (Spaghetti) และ แบบจําลองขอมูลชนิดโทโพโลยี (Topology)


                              - แบบจําลองขอมูลชนิดสปาเกตตี คือ เปนแบบจําลองที่มีลักษณะโครงสรางงาย ๆ

               การเก็บขอมูลจะบันทึกเฉพาะชื่อและพิกัดของวัตถุเทานั้น ไมการบงบอกถึงความสัมพันธของวัตถุที่อยู

               ติดกันคือเปนรูปแบบที่ไมมีการแสดงลักษณะโทโพโลยีนั้นเองจึงถือวาวัตถุหรือรูปทรงทางเรขาคณิตที่



                                                          -39-
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53