Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                   โครงสรางขอมูล



               บทที่ 3


                                   Data structure






               บทที่ 3 โครงสรางขอมูล  (Data structure)





               แหลงที่มาขอมูลทางภูมิศาสตรมาจากหลากหลายแหลง เชน แผนที่จากภาพถายทางอากาศ ภาพถาย
               ทางดาวเทียม  จากการบันทึกดวยเครื่องวัดพิกัดทางภูมิศาสตร และขอมูลสํารวจภาคพื้นดิน ขอมูลที่

               ไดมาตองมีการตรวจสอบความถูกตองกอนและตองมีการเลือกรูปแบบการจําลองขอมูลในโลกแหง

               ความเปนจริงในทางทางภูมิศาสตรดวยโครงสรางที่เหมาะสมกับรูปแบบที่จะนําไปใชงาน จะเห็นไดวา
               ปจจัยทั้งสองอยางนี้จะเปนเครื่องบงชี้ที่แทจริงถึงระดับของรายละเอียดและความถูกตองของขอมูลทาง

               ภูมิศาสตร นอกจากปจจัยทั้งสองอยางนี้ Galati (2006) ไดกลาวไววาเพื่อที่จะทําใหการประยุกตใชงาน

               ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไดอยางครบถวนตองยังมีปจจัยที่สําคัญอีกประการที่ตองคํานึงถึงคือ
               การจัดการดัดแปลงแกไขขอมูล (Data Manipulation) เปนปจจัยที่จะทําใหการใชงานระบบสารสนเทศ

               ทางภูมิศาสตรไดผลลัพธที่มีคุณภาพอยางกาวกระโดด


               เนื้อหาในบทนี้จึงไดกลาวถึงโครงสรางการจัดเก็บขอมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรโดยภาพรวม

               ซึ่งการจัดเก็บขอมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร ซึ่งในที่นี้หมายถึง  “วัตถุเชิงพื้นที่”  ซึ่งไดอธิบายแลวใน

               หัวขอที่ 1.3 โดยโครงสรางการจัดเก็บขอมูลมีอยู 2 แบบ คือ การจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางเวกเตอร
               และแรสเตอร โดยบทนี้จะไดอธิบายละเอียดถึงการเปรียบเทียบขอดีขอเสียโครงสรางการจัดเก็บขอมูล

               ทั้งสองประเภท และตอนทายจะไดอธิบายถึงความหมายของโทโพโลยีของ ซึ่งเกี่ยวของกับการจัดเก็บ

               ขอมูลแบบเวกเตอร


               3.1 โครงสรางขอมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS Data Structures)



               ดังไดกลาวมาแลววาความเหมาะสมในการเลือกโครงสรางของขอมูลทางภูมิศาสตรเปนเหตุผลหลัก

               ประการหนึ่งที่จะตัดสินวาการดําเนินงานทางดานระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตรจะประสบ
               ความสําเร็จหรือลมเหลว และการจัดการขอมูลหรือเลือกโครงสรางที่ไมเหมาะสมจะนําไปสูผลผลิต

               ทางขอมูลภูมิศาสตรที่ไมเหมาะสมเชนกัน ความเขาใจการใชงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตรถึง

                                                          -35-
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49