Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               ตัวอยางการจําแนกการนําเสนอขอมูลทางสารสนเทศภูมิศาสตร ในรูปที่ 2.4 ตามประเภทสาลักษณจุด

               เสน และพื้นที่ปด เชน สาลักษณแบบจุด เมื่อใชขอมูลในระดับการวัดแบบนามบัญญัติสามารถแสดง
               ชื่อเมือง  แหลงเหมืองแร และจุดอางอิง (BMx)  เมื่อใชขอมูลในระดับการวัดแบบเรียงอันดับ ขอมูลมี

               ปริมาณมากกวาแทนดวยวงกลมขนาดใหญกวาขอมูลที่มีปริมาณนอยและสีเขมแทนขอมูลที่มีปริมาณ

               มากกวาขอมูลจุดที่มีสีออนกวา


               2.5 เนื้อหาที่จะกลาวถึงในบทตอไป



               เนื้อหาในบทตอไปจะไดอธิบายโครงสรางการจัดเก็บขอมูลในระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ซึ่งมีการ

               จัดเก็บขอมูลอยู 2 แบบ คือ การจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางเวกเตอร  (Vector  Data Structure)  และ
               แรสเตอร (Raster  Data Structure)  โดยบทเรียนจะไดอธิบายละเอียดถึงการเปรียบเทียบขอดีขอเสีย

               โครงสรางการจัดเก็บขอมูลทั้งสองประเภท รูปแบบโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยีที่มีอยู

               ทั่วไป  กระบวนการบีบอัดขอมูลแรสเตอรสามารถบีบอัดขอมูลตามวิธีตาง ๆ และตอนทายบทยังได
               กลาวถึงความหมายและความสําคัญของโทโพโลยี (Topology)  ซึ่งเกี่ยวของกับความสัมพันธเชิง

               ตําแหนงของวัตถุที่อยูติดกัน


               2.6 สรุปเนื้อหาบทที่ 2



               เนื้อหาในบทจะไดอธิบายถึงองคประกอบของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร ประกอบไปดวย 5 สวน

               ดังนี้ คือ ฮารดแวร ซอฟทแวร ระเบียบวิธี ฐานขอมูล และบุคลากร สวนเนื้อหาตอนทายของหัวขอนี้ยัง

               ไดยกประเภทซอฟทแวรที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรทั้งในเชิงพาณิชย และแบบฟรีหรือ
               เรียกวาแบบรหัสเปด ตัวอยางซอฟทแวรที่เกี่ยวของกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เชน ซอฟทแวรดาน

               การรับรูระยะไกล ดานสารสนเทศภูมิศาสตร ดานโฟโตแกรมเมตรี ดานสํารวจภาคสนาม ดานระบบ

               พิกัดภูมิศาสตร และดานสถิติกับฐานขอมูล


               องคประกอบการทํางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรประกอบไปดวย 5 องคประกอบหลักคือ การ

               ไดมาซึ่งขอมูล การเตรียมขอมูล การจัดการฐานขอมูล การดัดแปลงและวิเคราะหขอมูล และการผลิต
               แสดงผลลัพธตาง ๆ องคประกอบการทํางานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสามารถจัดกลุมการ

               ทํางานตามหลักคอมพิวเตอรทั่วไปออกเปน 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการนําเขาขอมูล ขั้นตอนประมวลผล

               และขั้นตอนการแสดงผล ตามหลักคอมพิวเตอรทั่วไป





                                                          -32-
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46