Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               เนื้อหาในการจัดเตรียมขอมูลนี้จะไดกลาวโดยละเอียด  บทที่ 8 เรื่องการเขียนและผลิตแผนที่

               (Cartography and Map Production)


               2.3 สถาปตยกรรมของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (GIS Architecture)



               Anji Reddy (2008) ไดอธิบายถึงองคประกอบสถาปตยกรรมของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่ประกอบ

               ไปดวยระบบยอยตาง ๆ 5 องคประกอบ คือ การไดมาซึ่งขอมูล การเตรียมขอมูล การจัดการฐานขอมูล
               การดัดแปลงและวิเคราะหขอมูล และการผลิตแสดงผลลัพธตาง ๆ สวน Marble and Peuquet (1983)

               ไดแบงองคประกอบสถาปตยกรรมของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรที่ประกอบไปดวยระบบยอยตาง ๆ 4

               องคประกอบซึ่งมีลักษณะคลายกันกับ Anji Reddy (2008) เพียงแต Marble and Peuquet (1983) ไดยุบ
               รวมขั้นตอนการไดมาซึ่งขอมูล และ  การเตรียมขอมูล ผนวกเขาดวยกันเปนระบบยอยที่ชื่อวา  “การ

               บันทึกขอมูลและการเก็บรวบรวมขอมูล”  ซึ่งแทที่จริงแลวความหมายของสถาปตยกรรมของระบบ

               สารสนเทศทางภูมิศาสตรตามแบบของ Marble and Peuquet กับ Anji Reddy ก็มีลักษณะเชนเดียวกัน
               องคประกอบสถาปตยกรรมของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรของ Marble and Peuquet แสดงดังรูปที่

               2.3


























                                    รูปที่ 2.3 สถาปตยกรรมของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

                                             ที่มา: Marble and Peuquet (1983)


               2.4 ขอมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Data in GIS)



               เพื่อใหผูศึกษาไดเขาใจถึงรูปแบบของขอมูลแตละประเภทที่ถูกจัดเก็บไวในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

               ผูศึกษาจึงตองทราบถึงระดับการวัดของขอมูล ซึ่งสัมพันธกับสาลักษณ ดังแสดงในรูปที่ 2.4 ตามหลัก

                                                          -29-
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43