Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               สถิติโดยทั่วไปเราสามารถจําแนกประเภทของการวัดขอมูลไดเปน 4 ระดับ คือ ระดับมาตรานาม

               บัญญัติ (Nominal Scale) ระดับมาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale) ระดับมาตรอันตรภาค (Interval
               Scale)  และระดับมาตราอัตราสวน (Ratio Scale) ซึ่งระดับการวัดแตละระดับสามาถอธิบายได

               ตามลําดับคือ

                              - มาตรานามบัญญัติ เปนมาตราวัดอยางงายที่สุด กลาวคือ แบงขอมูลออกเปนกลุม

               ๆ ตามลักษณะประเภทที่กําหนดและเรียกชื่อที่แตกตางกัน เชน ตัวแปรเพศ แบงเปน 2 เพศ คือ เพศ
               หญิง และเพศชาย สถานภาพการสมรส แบงเปน 3 ประเภท คือ โสด แตงงาน และหยาราง เปนตน ใน

               มาตราวัดแบบนี้จะรายงานผลในรูปของจํานวนหรือความถี่ของแตละกลุม สถิติที่ใชกับขอมูลระดับ  นี้

               ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ ฐานนิยม และการทดสอบไคกําลังสอง

                              -  ระดับมาตราเรียงอันดับ เปนระดับการวัดที่คุณสมบัติของการวัดที่สูงกวามาตรา
               นามบัญญัติ ตัวเลขหรือสัญลักษณที่ใชแทนคุณลักษณะตัวแปร สามารถแสดงปริมาณความมากนอย

               (Magnitude) และสามารถจัดเรียงลําดับได แตชวงของความหางของแตละอันดับไมเทากัน เปนมาตรา

               วัดที่อาศัยการใหลําดับที่ หรือเปนการเปรียบเทียบวา มากกวา  นอยกวาและดีกวาเทานั้น มาตราวัด
               แบบนี้ไมสามารถบอกคาแตกตางที่แทจริงไดวามากกวาเทาไร นอยกวาเทาไร ดีกวาเทาไร ขอมูลที่ถูก

               กําหนดดวยตัวเลขหรือสัญลักษณที่กําหนดขึ้นนี้จะเรียกวา “ขอมูลเชิงอันดับ (Ordinal Data)” ตัวเลขที่

               ผูวิจัยกําหนดขึ้นมีความมุงหมายเพียงใหลําดับที่ของความสําคัญเทานั้น แตมิใชแทนขนาดหรือน้ําหนัก
               ของขอมูล เชน ขอมูลระดับการศึกษาแบงเปน 4 ระดับ โดยกําหนดให รหัส 1 ใชแทนการศึกษาในระดับ

               ประถมศึกษา รหัส 2 ใชแทนการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา รหัส 3 ใชแทนการศึกษาในระดับปริญญา

               ตรีและรหัส 4 ใชแทนการศึกษาในระดับที่สูงกวาปริญญาตรี คาสถิติที่นิยมใชกับขอมูลการวัดในระดับนี้
               ไดแก การแจกแจงความถี่ รอยละ มัธยฐานและการทดสอบไคกําลังสอง

                              -  ระดับมาตราอันตรภาค เปนขอมูลที่มีระดับการวัดที่มีคุณสมบัติสูงขึ้นจากมาตรา

               เรียงอันดับ สามารถแสดงปริมาณความมากนอยได แตละชวงของความหางหรือความแตกตางระหวาง
               แตละอันดับมีคาเทากัน (Equal Interval) แตไมมีคาศูนยสัมบูรณ (Non Absolute Zero) ที่แทจริงหรือมี

               แตศูนยสมมุติ (Arbitrary Zero หรือ Relative Zero) เชน นิสิตสอบไดคะแนน0 มิไดหมายความวานิสิตผู

               นั้นไมมีความรูในการเรียนเลย อุณหภูมิ 0 องศาเซลเซียส มิไดหมายความวาจะไมมีความรอนอยูเลย

               เพียงแตมีความรอนเปน 0 องศาเซลเซียส (ซึ่งแทที่จริง อุณหภูมิ 0 องศาเคลวิน หรือ  อุณหภูมิ -273
               องศาเซลเซียส จะมีความรอนเปน 0 จริง) ตัวเลขที่ใชในระดับการวัดแบบนี้จะบงบอกถึงคาความสําคัญ

               ในเรื่องของความมากนอยกวากันของตัวเลข และผลตางของตัวเลขที่ตองมีความหมายแนนอน  เชน

               คะแนนความคิดเห็น ทัศนคติ ความพึงพอใจ หรือคะแนนสอบ โดยผูวิจัยกําหนดตัวเลขแทนระดับตาง ๆ
               เชน ความพึงพอใจมากที่สุดเปน 5 มากเปน 4 ปานกลางเปน 3 นอยเปน  2 และนอยที่สุดเปน 1

               คาสถิติที่ใชกับขอมูลระดับนี้ไดแก ฐานนิยม มัธยฐาน คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  และความ

               แปรปรวน เปนตน

                                                          -30-
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44