Page 53 -
P. 53
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รูปปดแตละรูปที่อยูติดกันจะใชสวนของเสนตรงและจุดตอเชื่อมรวมกันดวย ซึ่งโครงสรางแบบนี้จะ
สมมุติวาสวนของเสนโคงใด ๆ จะมีลักษณะเปนเสนตรงเสมอ จุดตอเชื่อมจะตัวกําหนดถึงจุดเริ่มตนและ
จุดปลายทาง (From and To) ของสวนของเสนตรงใด ๆ และสวนของเสนตรงจะเปนตัวบงชี้ไปดวยวารูป
ปดใด ๆ จะอยูทางซายหรือขวาของสวนของเสนตรงนั้น (Star and Estes, 1990)
ขอเสียของการจัดเก็บตามรูปแบบนี้คือ เกิดความยุงยากเมื่อมีการแกไขเสนที่ซับซอนเพราะตองคนหา
และแกไขขอมูลทั้งหมดที่อางอิงกับเสนนั้น ๆ เชน เมื่อตองการแกไขขอมูลของถนนสายหลักซึ่งถูกตัด
แบงเปนตอน ๆ ดวยถนนที่ตัดผาน แทนที่จะตองแกไขขอมูลเกี่ยวกับถนนนั้นเพียงครั้งเดียวจะตองตาม
ไปแกไขขอมูลที่อาศัยการอางอิงชื่อถนนนี้ทุกชวงถนน จะทําใหเกิดการเสียเวลามาก
ขอดีประการหนึ่งของการจัดเก็บแบบนี้คือ เนื่องจากระบบนี้สามารถที่จะคนหาบานเลขที่ (Address) ได
งายในหลายไฟลขอมูล เพราะระบบนี้มีการเก็บบันทึกขอมูลบานเลขที่ตามชวงถนนอยูแลว
3.2.3 ระบบโครงสรางแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อม (Arc-Node Structure)
ซอฟตแวรดานสารสนเทศภูมิศาสตรโดยทั่วไปจะนิยมใชโครงสรางแบบนี้เปนโครงสรางในการจัดเก็บ
ขอมูล โครงสรางแบบนี้พัฒนาโดย โดย Marble and Peuguet (1983) ซึ่งตอมาถูกปรับปรุงอีกครั้งที่
หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรกราฟกของมหาวิทยาลัยฮารวอรด ซึ่งเรียกวา “แบบจําลองโพลีเวอรท
(POLYVERT)” ยอมาจากคําวา “POLYgon conVERT” สาลักษณในฐานขอมูลจะถูกจัดเก็บไวใน
โครงสรางแบบเปนลําดับขั้นตอน ระบบนี้จะมีสาลักษณแบบจุด เปนหนวยยอยที่เล็กที่สุด สาลักษณ
แบบเสนจะถูกกําหนดดวยพิกัดในคูลําดับ 2 มิติ (x,y) จุดตอเชื่อม ในที่นี้หมายถึงจุดปลายของสวนโคง
(End of Arc) และหมายถึง จุดตัดระหวางสวนโคงใด ๆ ขอสังเกตคือจุดตอเชื่อม กับสาลักษณแบบจุด
จะถือวาเปนวัตถุคนละชนิดกัน วัตถุแตละชนิดจะถูกเชื่อมดวยจุดซึ่งสัมพันธกันเสนอยางเปนลําดับ
ขั้นตอน สวนสาลักษณรูปปดหลายเหลี่ยมจะถูกกําหนดดวยสวนโคงที่ปดลอมรูปนั้นโดยใชหลักการตัวชี้
ซึ่งถูกจัดเก็บเปนตัวแทนของพื้นที่ปดนั้น (Star and Estes, 1990 และ Anji Reddy, 2008)
ขอเสียของการจําลองแบบนี้คือ ยากที่จะตรวจสอบความถูกตองของตัวชี้ที่ใชกํากับในการเก็บขอมูลรูป
ปดหลายเหลี่ยม จะทราบเมื่อไดคนหาขอมูลเพื่อจะแสดงขอมูลตําแหนงนั้นวาเปนตัวแทนที่ถูกจัดเก็บได
ตรงกับรูปปดนั้นหรือไม (Anji Reddy, 2008)
ตัวอยางการจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อม (Arc-Node Structure) แสดงดัง
รูป 3.7
-44-