Page 58 -
P. 58

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                    ช. ขอมูลที่อยูอาศัย


                           ที่ดิน         เจาของ          ความยาว         พื้นที่       เขต


                           เลขที่                          รอบพื้นที่   (ตารางวา)

                          ฉ1034  นายระเบียบ ขยันจริง        160.90        400.11      ที่อยูอาศัย
                          ฉ2011  นายฌาน สมบัติ              108.11        182.25        รานคา


                                     รูปที่ 3.8 โครงสรางขอมูลแบบแบบความสัมพันธ (ตอ)


               3.2.5 แบบกราฟเสนเชิงเลข (Digital Line Graph)



               สํานักสํารวจทางธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา เปนผูพัฒนาระบบการจัดเก็บขอมูลแบบนี้เพื่อที่จะกําหนด

               มาตรฐาน กระบวนการในการจัดเก็บขอมูลแผนที่ (Cartographic Data)  จึงเปนที่รูจักกันดีในชื่อที่

               เรียกวา “กราฟเสนเชิงเลข (Digital Line Graph, DLG)” องคประกอบของการจัดเก็บขอมูลแบบนี้ไฟลจะ
               ถูกแบงตามลักษณะชั้นของขอมูลเฉพาะเรื่อง  ซึ่งมีลักษณะการใชงานที่แตกตางกัน  การกําหนดรหัส

               ขอมูลอรรถาธิบายจะใชเปนพื้นฐานในการอธิบายถึงลักษณะตัวแทนของแผนที่ภูมิประเทศตาม

               มาตรฐานของ USGS (United State Geography and Survey)


               สาลักษณพื้นฐานประกอบไปดวย จุด/จุดเชื่อม เสนและพื้นที่ปด ซึ่งไดบรรจุขอมูลตําแหนงและโทโพโลยี

               เขาไปดวย  จุดเชื่อมใชเปนสัญลักษณแทนไดทั้งจุดและตําแหนงที่ตัดกันของเสนสองเสน เสนจะถูก
               กําหนดดวยจุดเชื่อมสองจุดคือจุดเริ่มตนและจุดเสนสุดซึ่งขอดีคือจะสามารถชวยในการกําหนดทิศ

               ทางการเดินทางตลอดเสนได เชนเดียวกับใชเปนตัวบอกวารูปปดนั้นจะอยูดานซายหรือดานขวาของเสน


               Star and Estes (1990) กลาววายังมีสาลักษณพิเศษอีกประเภทหนึ่งที่ชื่อวา “เสนทะลุ (Degenerate

               line)”  หมายถึงเสนที่มีจุดเริ่มตนและมีจุดสิ้นสุดเปนจุดเดียวกันถือไดวาเสนนี้จะมีความยาวเปนศูนย

               หรือกลาวไดวาเสนประเภทนี้ใชเปนตัวแทนสาลักษณแบบจุดอีกประเภทหนึ่ง เชน เสนตําแหนงที่เจาะ
               บอน้ํามัน หรือ บอน้ํา



               ตัวอยางการจัดเก็บขอมูลตามโครงสรางแบบกราฟเสนเชิงเลขซึ่งจะถูกแบงเปน 4  ชั้นขอมูล แตละชั้น
               ประกอบไปดวย

                              - ชั้นที่ 1 จัดเก็บขอมูลขอบเขตการเมืองการปกครอง

                              - ชั้นที่ 2 จัดเก็บขอมูลสาลักษณที่เกี่ยวกับน้ํา
                              - ชั้นที่ 3 จัดเก็บขอมูลสาลักษณที่เกี่ยวกับโครงขายการขนสง


                                                          -49-
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63