Page 69 -
P. 69

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               พิกัดของวัตถุเทานั้น ไมการบงบอกถึงโทโพโลยี  และ 2. แบบจําลองขอมูลชนิดโทโพโลยี คือ เปน

               แบบจําลองที่มีการกําหนดตัวแทนของวัตถุดวยสาลักษณพื้นฐาน 3 ประการ


               รูปแบบโครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรชนิดโทโพโลยีทั่วไปมีหลายแบบเชน ระบบรูปปดหลายเหลี่ยม

               ระบบแผนที่เขารหัสคูแบบอิสระ โครงสรางแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อม โครงสรางแบบความสัมพันธ
               และแบบกราฟเสนเชิงเลข

                              - ระบบบันทึกพิกัดลอมรูปปดหลายเหลี่ยมทั้งรูป  ระบบนี้การจัดเก็บขอมูลรูปหลาย

               เหลี่ยมจะแทนดวยพิกัดที่ปดลอมรูปหลายเหลี่ยมนั้นโดยบันทึกวนจุดเริ่มตนตอเนื่องกันไปจนครบรอบ
               แลวบันทึกจุดสุดทายตรงตําแหนงเริ่มตน ขอมูลอรรถาธิบาย ของรูปปดหลายเหลี่ยมแตละรูปจะถูก

               จัดเก็บโดยเชื่อมโยงกับกลุมของจุดหักเห

                              - ระบบแผนที่เขารหัสคูแบบอิสระ ระบบนี้การจัดเก็บขอมูลในระบบนี้ถูกออกแบบ
               เพื่อใหเขากันกับระบบฐานขอมูลลักษณะภูมิประเทศ ขอเสียของการจัดเก็บตามรูปแบบนี้คือ เกิดความ

               ยุงยากเมื่อมีการแกไขเสนที่ซับซอนเพราะตองคนหาและแกไขขอมูลทั้งหมดที่อางอิงกับเสน  สวนขอดี

               ประการหนึ่งของการจัดเก็บแบบนี้คือ เนื่องจากระบบนี้สามารถที่จะคนหาบานเลขที่ไดงาย

                              - ระบบโครงสรางแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อม ระบบนี้สาลักษณในฐานขอมูลจะถูก
               จัดเก็บไวในโครงสรางแบบเปนลําดับขั้นตอน สาลักษณแบบจุด เปนหนวยยอยที่เล็กที่สุด ขอเสียของ

               การจําลองแบบนี้คือยากที่จะตรวจสอบความถูกตองของตัวชี้ที่ใชกํากับในการเก็บขอมูลรูปปดหลาย

               เหลี่ยมจะทราบเมื่อไดคนหาขอมูลเพื่อจะแสดงขอมูลตําแหนงนั้นวาเปนตัวแทนที่ถูกจัดเก็บไดตรงกับรูป
               ปดนั้นหรือไม ซอฟตแวรดานสารสนเทศภูมิศาสตรโดยทั่วไปจะนิยมใชโครงสรางแบบนี้เปนโครงสราง

               ในการจัดเก็บ

                              - ระบบโครงสรางแบบความสัมพันธ ถือวาเปนโครงสรางการเก็บขอมูลแบบเสนโคง
               และจุดตอเชื่อมอีกประเภทหนึ่ง ขอแตกตางเพียงประการเดียวคือขอมูลอรรถาธิบายที่ถูกจัดเก็บไวตาม

               โครงสรางการเก็บขอมูลแบบเสนโคงและจุดตอเชื่อมจะบันทึกขอมูลรวมกับขอมูลโทโพโลยีของวัตถุ

                              - แบบกราฟเสนเชิงเลข องคประกอบของการจัดเก็บขอมูลแบบนี้ไฟลจะถูกแบงตาม
               ลักษณะชั้นของขอมูลเฉพาะเรื่อง ซึ่งมีลักษณะการใชงานที่แตกตางกัน การกําหนดรหัสขอมูล

               อรรถาธิบายจะใชเปนพื้นฐานในการอธิบายถึงลักษณะตัวแทนของแผนที่ภูมิประเทศตามมาตรฐานของ

               USGS


               โครงสรางขอมูลแบบเวกเตอรมีจุดเดนที่สําคัญคือดานการเก็บขอมูลในไฟลจะตองการพื้นที่ในการ

               จัดเก็บนอยกวาและยังเหมาะสมกับโครงสรางพื้นฐานที่มีลักษณะเปนรูปหลายเหลี่ยมและวัตถุที่มีสวน

               โคงซึ่งตองการแบงแนวขอบเขตอยางชัดเจน



                                                          -60-
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74