Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                   ระบบฉายภาพแผนที่



               บทที่ 4


                                   Map Projection System





                           บทที่ 4 ระบบฉายภาพแผนที่  (Map Projection System)




               เนื้อหาในบทนี้จะไดอธิบายถึงพื้นฐานเกี่ยวกับระบบฉายภาพแผนที่ เนื้อหาในบทนี้จะไดแบงเนื้อหา

               ออกเปน 4 สวนดังนี้

                              - ระบบฉายภาพแผนที่ และพิกัดประกอบไปดวยเนื้อหาที่กลาวถึง รูปทรงของโลก
               การวัดขนาดของโลก  ระบบพิกัด  หลักการฉายภาพแผนที่  การอางอิงในแนวราบ (ซึ่งในเนื้อหาการ

               อางอิงทางราบยังประกอบไปดวยหัวขอที่วาดวยเรื่องระบบอางอิงพิกัดภูมิศาสตรเสนรุงและแวง ระบบ

               พิกัดอางอิงเมอรเคเตอรแบบขวางสากล ระบบพิกัดระนาบมลรัฐและระบบพิกัด Gauss-Krüger) 0และ
               หัวขอสุดทายของหัวขอนี้คือการอางอิงในแนวดิ่ง

                              - ระบบแผนที่ของประเทศไทย

                              - การวัดคามุมรุง มุมแวงและคาความสูง ดวยเครื่องจีพีเอส
                              - การแปลงพิกัดระบบอางอิง

               โดยเนื้อหาทั้งหมดนี้ไดถูกอธิบายไวในหัวขอที่ 4.1- 4.4 ตามลําดับ


               4.1 ระบบฉายภาพแผนที่และพิกัด



               การฉายภาพ (Map projection) เปนกระบวนการแปลงรูปทรงสามมิติของวัตถุที่อยูบนโลกใหเปนรูปสอง

               มิติในระนาบราบบนแผนที่ ซึ่งการฉายภาพเปนกระบวนการแปลงพื้นผิวหรือสวนโคงตาง ๆ ใหเปนสวน

               ของเสนตรงโดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตรของแหลงกําเนิดแสงในการฉายภาพ ดังนั้นจึงมีสูตร
               ทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวกับการฉายภาพอยูมากมายเพื่อที่จะแปลงคาทางตําแหนงทางภูมิศาสตรใน

               แนวตั้ง (เสนแวง, Longitude) และแนวนอน (เสนรุง, Latitude) บนพื้นผิวสามมิติของโลกไมวาพื้นผิวสาม

               มิติของโลกจะถูกสมมติใหเปนทรงกลม  (Spheroid)  หรือทรงรี  (Ellipsoid)  ใหเปนตําแหนงพื้นผิวใน
               แนวราบบนแผนที่ซึ่งจะหลีกเลี่ยงไมไดที่จะเจอปญหาการบิดเบี้ยวของวัตถุที่ถูกฉายเกิดความผิดพลาด

               ที่เกี่ยวกับรูปทรงทางเรขาคณิต พื้นที่ ระยะทาง ทิศทางและอื่น ๆ ดังนั้นผูจัดทําแผนที่ตองมีความรูที่จะ





                                                          -65-
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79