Page 78 -
P. 78

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               องศา โดยจะบอกเปนตัวอักษร N (หมายถึงขั้วโลกเหนือ, North pole) หรือ S (หมายถึงขั้วโลกใต, South

               Pole) เชน ตําแหนงที่ Lat. 10° N หมายถึงเสนรุงที่มีตําแหนงหางจากเสนศูนยสูตรวัดขั้นไปทางขั้วโลก

               เหนือมาเปนระยะ 10 องศา และรูปที่ 4.2  ข.แสดงการหาคาเสนรุงที่ตําแหนงจุด S  บนผิวโลกซึ่งเปน
               ตําแหนงบนทรงรีตัดกับเสนสัมผัส mn สวนเสน pq ก็คือเสนตามแนวตั้งฉากกับระนาบเสนสัมผัส  mn

               ไปตัดกับแนวเสนศูนยสูตรก็จะเกิดมุม pqr ดังนั้นมุม pqr นี้เองก็คือคามุมของเสนรุง (φ) นั่นเอง



               รูปที่ 4.2  ค.เปนการกําหนดเสนแวง  (ภาพมองจากดานบนลงมายังโลก จะเห็นขั้วโลกเหนืออยูตรงจุด
               ศูนยกลางซึ่งจะมีเสนกรีนิช  (Greenwich) ผานตําบลกรีนิซ กรุงลอนดอน ประเทศสหราชอาณาจักร

               เปนตัวกําหนดเวลาที่สากลที่ศูนย  UTC+0  และกําหนดเสนแวงหรือเสน     เมอริเดียนปฐม  (Prime

               Meridian) มีคามุมเปนศูนย และจะมีเสนศูนยสูตรเปนเสนรอบรูปวงกลมของโลก) การบอกตําแหนงเสน
               แวงถาวัดจากเสนกรีนิชไปทางขวาคือวัดไปทางดานทิศตะวันออก (E-East) ไป 180 องศา ถาวัดไปทาง

               ทิศตะวันตก (W-West)  ไป 180  องศา (ถาไมบอกทิศจะถือวาถามุมมีเครื่องหมายเปนบวกก็คือวัดไป

               ทางทิศตะวันออกของเสนนี้และในทางตรงขามถามุมมีเครื่องหมายลบก็จะถือวาวัดไปทางทิศตะวันตก

               ของเสนนี้)  ตัวอยางการบอกตําแหนงของเสนแวง เชน ตําแหนง Lon 105° E หมายถึงตําแหนงของเสน

               แวงที่วัดมาทางดานขวาของเสนกรีนนิชคือวัดไปทิศตะวันออกดวยระยะหาง 105 องศา


























                         รูปที่ 4.3  รูปทรงกลมสามมิติของเสนตาง ๆ ที่สําคัญในการบอกตําแหนงบนโลก















                                                          -69-
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83