Page 70 -
P. 70

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               การจัดเก็บขอมูลแบบแรสเตอรจะมีการบอกตําแหนงจุดเริ่มตนของจุดภาพ สามารถเริ่มตนที่ตําแหนง

               ภาพมุมบนซาย ที่ตําแหนงพิกัดภาพ (0,0) หรือ (1,1) ก็ได  ซึ่งกระบวนการบีบอัดขอมูลแรสเตอร
               สามารถบีบอัดขอมูลตามวิธีของ Anji Reddy (2008 ) ได 4 วิธี คือ วิธีเขารหัสวิ่งยาว วิธีเขารหัสลูกโซ

               วิธีเขารหัสแบบบล็อก และวิธีเขารหัสแบบควอดทรี

                              - การเขารหัสวิ่งยาว วิธีนี้การเขารหัสขอมูลจะบรรจุตัวเลขที่แสดงคาของขอมูลหรือ
               ประเภทของขอมูลลงในแตละจุดภาพ วิธีการบีบอัดจะเริ่มดวยการจัดเก็บขอมูลทีละแถว ดวยการ

               บันทึกเปนคูลําดับ (n,a) เมื่อ a คือตัวเลขที่ถูกบันทึกไวในจุดภาพ สวนคา n คือ จํานวนขอมูลที่ติดกัน

               ของจํานวน
                              - การเขารหัสลูกโซ การเขารหัสขอมูลแบบนี้เปนวิธีการลดจํานวนการเก็บขอมูลภาพ

               ดวยหลักการบันทึกขอมูลในรูปของจุดที่ลอมรอบวัตถุหรือตามขอบของวัตถุ ซึ่งการรวบรวมขอมูลจะ

               เริ่มบันทึกที่ตําแหนงเริ่มตนทีละจุดภาพตามทิศทาง 4 ทิศทางหลัก
                              - วิธีเขารหัสแบบบล็อก การเขารหัสขอมูลแบบนี้เปนดัดแปลงมาจากการเขารหัสแบบ

               รหัสวิ่งยาว การเขารหัสแบบนี้จะใชจุดภาพขนาดจัตุรัสตั้งแตขนาด 1 จุดภาพขึ้นไปขยายใหใหญเปน

               จัตุรัสที่มีขนาดใหญขึ้นไปจนสามารถบรรจุไดในวัตถุนั้น ๆ (ขนาดบล็อก เชน 1, 4, 9, 16,  … จุดภาพ)

                              - วิธีเขารหัสแบบควอดทรี วิธีนี้เปนวิธีสุดทายในการเขารหัสขอมูลซึ่งดัดแปลงมาจาก
               การเขารหัสแบบบล็อกและเปนวิธีที่ยุงยากที่สุด การจัดเก็บขอมูลแรสเตอรเปนแบบลําดับขั้นตอน เปน

               ตนแบบการยอและขยายขนาดภาพดวยการรวมจุดภาพขนาดจัตุรัสจํานวน 4 จุดภาพเขาดวยกันเปน 1

               จุดภาพ เปนลักษณะคลายกิ่งของตนไม ดังนั้นจึงเรียกวา ควอดทรี แลวบันทึกขอมูลที่บีบอัดแตละ
               จุดภาพ ตามโครงสรางขอมูลแบบปรามิด



               โทโพโลยี เปนแบบจําลองโครงสรางขอมูลที่ไดจากการคํานวณทางคณิตศาสตรที่ใชระบุความสัมพันธ
               เชิงพื้นที่ระหวางสาลักษณ โดยความสัมพันธประกอบไปดวยแบบตาง ๆ คือความสัมพันธแบบแตกตาง

               ความสัมพันธแบบทับซอนและความสัมพันธแบบรวมกลุม

























                                                          -61-
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75