Page 86 -
P. 86

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                 Theories of Marital and Family Therapy
            80




                   รูปแบบกำรใช้พฤติกรรมบ ำบัดส ำหรับครอบครัว


                                                        ั
                                                                                  ั
                    พฤติกรรมบ าบัดส าหรับครอบครัว มุ่งแก้ปญหาเฉพาะเรื่องที่เกิดขึ้นในปจจุบัน และเป็น
              ั
            ปญหาเชิงพฤติกรรม  เช่น ลูกไม่ยอมไปโรงเรียน ลูกเลือกรับประทานอาหาร พฤติกรรมต่อต้าน
                      ั
            เอาแต่ใจ ปญหาการสื่อสารในครอบครัวระหว่างพ่อแม่กับลูกวัยรุ่น เป็นต้น   โดยทั่วไปผู้บ าบัดจะมี
            บทบาทเป็นผู้เชี่ยวชาญและโค้ช ซึ่งให้ความรู้และฝึกสอนทักษะให้กับพ่อแม่หรือเด็ก

                    ตัวอย่างเทคนิคพฤติกรรมบ าบัดส าหรับครอบครัว ได้แก่ การปรับพฤติกรรม (Behavior
            modification) การให้แรงเสริม (Reinforcement) การใช้เทคนิคเวลานอก (Time out) การใช้เทคนิค
            Token Economy และ การให้ความรู้ด้านจิตวิทยา (Psychoeducation)


            [1] การปรับพฤติกรรม (Behavior modification)


                   พฤติกรรมบ าบัดส าหรับครอบครัว มุ่งเน้นให้สมาชิกในครอบครัวเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวน
                               ้
            บ าบัด ตั้งแต่การตั้งเปาหมาย (Goal Setting)   การท าข้อตกลงเชิงพฤติกรรม (Behavior contract)
            การจดบันทึกและก ากับตนเอง (Self-record / Self-monitoring)  การก าหนดงานหรือกิจกรรมเป็น

            ขั้นตอนย่อย ตามระดับจากง่ายไปยาก (Task Assignment)


            [2] การให้แรงเสริม (Reinforcement)


                   ผู้บ าบัดฝึกสอนให้พ่อแม่รู้จักหลักการให้แรงเสริมที่ถูกต้อง ซึ่งจะส่งเสริมให้เกิดพฤติกรรมที่
            ต้องการ และลดพฤติกรรมที่ไม่ต้องการ  รวมถึงสอนการเลือกสิ่งเสริมแรงที่เหมาะสม สามารถจูงใจ
                                                 ั
            ให้เกิดพฤติกรรมที่ต้องการและไม่ก่อให้เกิดปญหาตามมาในอนาคต
                   การให้แรงเสริม มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กเรียนรู้ว่า เมื่อมีพฤติกรรมที่ดี ก็จะได้รับรางวัล โดย
            เมื่อเด็กเรียนรู้ว่าท าดีได้รางวัล ต่อไปการท าดีอาจกลายเป็นแรงจูงใจภายใน และท าพฤติกรรมที่ดี
            ต่อไปโดยไม่หวังรางวัล


            [3] การใช้เทคนิคเวลานอก (Time out)

                                                ั
                 เป็นเทคนิคที่ใช้ส าหรับเด็กเล็กเมื่อมีปญหาเชิงพฤติกรรม โดยพ่อแม่จะมีอธิบาย ท าข้อตกลงกับ
            เด็กก่อนว่าหากหากท าพฤติกรรมไม่เหมาะสม เช่น ละเมิดกฎภายในบ้าน มีพฤติกรรมที่อาจเป็น
            อันตรายต่อตนเองและคนอื่น (ขว้างปาข้าวของ ใช้ความรุนแรง) จะมีผลให้เด็กต้องใช้เวลานอก ไม่ได้

            รับความสนใจจากผู้ใหญ่ และไม่ได้ท าสิ่งที่ชอบตามเวลาที่ก าหนด   เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ว่าการแสดง
            พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมจะมีผลให้ต้องหยุดท าสิ่งที่ชอบ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91