Page 81 -
P. 81
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
75
การฝึกฝนทักษะการสื่อสาร
อุมาพร ตรังคสมบัติ (2545) ได้ระบุการสื่อสารแบบไม่สร้างสรรค์ในคู่สมรส ไว้ดังต่อไปนี้
พูดไม่ตรงเรื่องหรือพูดก ากวม เนื้อความไม่ชัดเจน
่
เมื่อไม่ต้องการสานต่อบทสนทนาก็จะเปลี่ยนเรื่องพูดโดยไม่ได้ตอบสนองต่ออีกฝาย
หนึ่งอย่างเหมาะสม
่
พูดแบบทายใจ ยืนยันว่าตนรู้ว่าอีกฝายหนึ่งคิดอะไร
พูดแบบเยาะเย้ยหรือถากถาง
่
พยายามท าให้ค าพูดของอีกฝายหนึ่งเป็นเรื่องตลกหรือไร้สาระ
่
พูดสวนกลับท าให้อีกฝายหนึ่งรู้สึกถูกโจมตี
่
แปลความหมายสิ่งที่อีกฝายหนึ่งพูดในเชิงลบ
้
การฝึกฝนทักษะการสื่อสารมีเปาหมายเพื่อให้คู่สมรสเกิดทักษะที่ดีในการสื่อสาร เช่น
ั
ั
การให้เกียรติคู่สมรส การฟงด้วยความเข้าใจ การต่อรอง การแก้ปญหา การรู้จักเลือกช่วงเวลาที่จะ
ั
พูดคุยกันถึงปญหา การไม่ใช้วิธีอ่านใจหรือเดาใจคู่สมรส ปรับเปลี่ยนภาษาท่าทางที่ใช้ให้เป็นไป
ในทางสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ
การฝึกฝนทักษะการสื่อสารเพื่อเกิดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ สามารถท าได้โดยวิธีการ
ดังต่อไปนี้
I. การใช้ตัวแบบ (Modeling)
ตามทฤษฏีการเรียนรู้ทางสังคม (Social learning theory) Bandura ชี้ว่าพฤติกรรมของคน
ส่วนใหญ่เรียนรู้จากการสังเกตผู้อื่น (อรพิน สถิรมน, 2561) ในการสื่อสารก็เช่นกัน คู่สมรส
เรียนรู้รูปแบบการสื่อสารแรกสุดจากครอบครัวต้นก าเนิดซึ่งอาจเป็นการสื่อสารในรูปแบบที่
ไม่เหมาะสม ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยอาศัยการสังเกตการณ์ตัวแบบที่ดี การสอนทักษะการ
สื่อสารในการบ าบัดคู่สมรส อาจใช้ตัวแบบจากภาพยนตร์ เทปเสียง และในระหว่างชั่วโมง
การบ าบัด ผู้บ าบัดเป็นตัวแบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และอาจใช้เทคนิค การแสดง
บทบาทสมมติ (Role-Play) กับคู่สมรสคนใดคนหนึ่ง และคู่สมรสอีกคนเป็นผู้สังเกต หลังจาก
นั้นให้คู่สมรสฝึกซ้อมตามที่ผู้บ าบัดสาธิต
[Type text]