Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
                                                            ทฤษฏีการบ าบัดคู่สมรสและครอบครัว
                                                                                            81



                    Time out มีเกณฑ์ในการปฏิบัติดังนี้คือ

               (1)  อายุเด็ก__ป ี = จ านวนนาที
               (2)  สถานที่ที่จะจัดเป็น Time out zone จะต้องปลอดภัย สงบ ไม่มีสิ่งรบกวน ในจุดนั้นไม่ควรมี

                    โทรทัศน์ หรือของเล่น หรือหน้าต่าง เป็นสถานที่ที่พ่อแม่สามารถสังเกตและควบคุมได้ เช่น
                    ทางเดิน หน้าห้อง มุมห้อง ไม่ควรใช้ห้องนอนของเด็ก
                                                          ั
               (3)  ก่อนเริ่มใช้ Time out ต้องมีการอธิบายให้เด็กฟงก่อน
               (4)  เมื่อเด็กท าผิด1-2 ครั้งแรกให้เตือนก่อน
               (5)  เมื่อท าผิดครั้งที่ 3 ให้ท า Time out ทันที   ไม่ใช้การสั่งสอนหรือดุว่าในขณะนั้น
               (6)  หากเด็กไม่อยู่นิ่ง พยายามออกจากสถานที่ที่ก าหนด ให้น าเด็กกลับไปที่เดิมจนกว่าเด็กจะ

                    อยู่จุดนั้นจนครบก าหนดเวลา
                                                                                         ั
               (7)  เมื่อครบก าหนดเวลาจึงให้เด็กออกจาก Time out zone ได้โดยพ่อแม่อธิบายให้เด็กฟงอีก
                    ครั้ง ว่าข้อตกลงเป็นอย่างไรและให้เด็กเรียนรู้ที่จะขอโทษ


            [4] การใช้เทคนิค Token Economy

                   การให้แรงเสริมซึ่งอาจเป็นอาหาร สิ่งของ หรือ กิจกรรมที่เด็กชอบ อาจเกิดข้อจ ากัดในเรื่อง

            เวลาและปริมาณ ดังนั้น การใช้เบี้ยรางวัลเป็นสิ่งเสริมแรงจะสามารถแก้ไขข้อจ ากัดนี้ได้

                   การใช้เบี้ยรางวัล จะก าหนดจ านวนรางวัลที่จะได้รับเมื่อเด็กมีพฤติกรรมที่ต้องการ เช่น
            จัดเตียงเองเมื่อตื่นนอน เก็บของเล่นใส่กล่องเมื่อเล่นเสร็จ วางรองเท้า-ของใช้ให้ถูกที่ เป็นต้น
            และเด็กสามารถสะสมเบี้ยที่ได้รับเพื่อแลกรางวัลที่ต้องการตามที่ตกลงกันไว้



            [5] การให้ความรู้ด้านจิตวิทยา (Psychoeducation)

                                                                                       ั
                   การให้ข้อมูลที่จ าเป็นแก่ผู้รับบริการและครอบครัว ซึ่งอาจเป็นเรื่องธรรมชาติของปญหา/โรค
            วิธีการบ าบัดรักษา ข้อควรปฏิบัติเพื่อให้การบ าบัดได้ผลดี  ความรู้เชิงจิตวิทยาเฉพาะด้าน เช่น
            พัฒนาการเด็กและวัยรุ่น ทักษะการเป็นพ่อแม่

                   การให้ความรู้ด้านจิตวิทยา ผู้ที่ให้ความรู้อาจเป็นแพทย์ จิตแพทย์ นักจิตวิทยา พยาบาลจิต

            เวช นักสังคมสงเคราะห์จิตเวช  โดยอาจเป็นการพบผู้บ าบัดในชั่วโมงบ าบัดแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม หรือ
            โดยผ่านทางออนไลน์ และรูปแบบอิเล็กโทรนิกส์ อื่น ๆ






 [Type text]
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92