Page 56 -
P. 56

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



               ตารางที่ 2 สมบัติดินก่อนปลูกข้าวในกระถางทดลอง
                 แคดเมียม  pH    OM     EC 1:5    CEC      Avail.P   Exch.K   Sand     Silt    Clay   เนื้อดิน

                 (mg/kg)  (1:1)  (%)  (dS/m)  cmol/kg     (mg/kg)   (mg/kg)    %       %      %
                   13.2    7.7  2.80    0.188     17.4      26        165     25.1    40.2   34.7  ร่วนเหนียว
               ตารางที่ 3 สมบัติดินก่อนทดลองตามระดับชั้นความลึก
                         ชั้นความลึก       pH            CEC              OM              แคดเมียม
                           (cm)           (1:1)        cmol/kg            (%)             (mg/kg)
                           0-15           7.7            17.4            2.80               13.2

                           15-30          8.0            24.3            1.68               8.1
                           30-50          7.9            16.2            0.81               3.2
                           50-70          7.9            25.4            0.58               1.2
                     2. การเจริญเติบโตและผลิตข้าว
                      การใส่แมกนีเซียมออกไซด์ในอัตราที่สูงขึ้นมีผลต่อการเจริญเติบโตด้านความสูง โดยความสูงเฉลี่ยของต้นข้าว
               ระยะเก็บเกี่ยวอยู่ในช่วง 146-153 เซนติเมตร แต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ส่วนการแตกกอของข้าวมีจำนวนต้นต่อ

               กอเฉลี่ยอยู่ในช่วง 14-15 ต้นต่อกอ จำนวนรวงต่อกอเฉลี่ย 10-11 รวงต่อกอ ผลผลิตเฉลี่ย 17.9-21.3 กรัมต่อกอ (ตาราง
               ที่ 4) ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ
               ตารางที่ 4 ผลของการใส่แมกนีเซียมออกไซด์อัตราต่างๆ ในดินที่มีการปนเปื้อนแคดเมียมต่อการเจริญเติบโตและ
                          ผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ปลูกในกระถางทดลอง
                                                 ความสูงระยะเก็บ  จำนวน       จำนวน     น้ำหนักเมล็ดข้าวเปลือก
                              กรรมวิธี
                                                   เกี่ยว (ซม.)   ต้น/กอ      รวง/กอ          กรัม/กอ
                   1. ใส่แมกนีเซียมออกไซด์  3 กก./ไร่   147        12.0         10             20.4
                   2. ใส่แมกนีเซียมออกไซด์  6 กก./ไร่   153        11.8         9              20.3
                   3. ใส่แมกนีเซียมออกไซด์  9 กก./ไร่   146        11.5         10             20.3
                   4. ใส่แมกนีเซียมออกไซด์  12 กก./ไร่   153       12.0         9              17.9
                   5. ไม่ใส่สาร                       150          10.5         9              21.3
                   เฉลี่ย                             150          11.6         9              20.0
                   F-test                             ns            ns          ns              ns
                   C.V.%                              1.7          11.6        10.4            10.2
               หมายเหตุ   ns : ไม่แตกต่างกันทางสถิติ

                      กรรมวิธีที่ไม่ใส่แมกนีเซียมออกไซด์ให้น้ำหนักแห้งเฉลี่ยรวมทุกส่วนสูงสุดคือ 67.51 กรัมต่อกอ รองลงมาคือ การ
               ใส่แมกนีเซียมออกไซด์ 3 กิโลกรัมต่อไร่ ได้น้ำหนักแห้งเฉลี่ยรวมทุกส่วน 65.46 กรัมต่อกอ (ตารางที่ 5)









                                                           48
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61