Page 34 -
P. 34

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว



               3. การปนเปื้อนของแคดเมียมในดินปลูกมังคุดและผลผลิตมังคุด ในจังหวัดชุมพร
                       ปริมาณของแคดเมียมในดินปลูกมังคุดในเขตอำเภอพะโต๊ะ และหลังสวน จังหวัดชุมพร พบอยู่ระหว่าง 0.02-1.07
               มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Table 3) ซึ่ง 73 เปอร์เซ็นต์ของจำนวนตัวอย่างที่สำรวจมีค่าสูงกว่าระดับเกณฑ์พื้นฐานของแคดเมียม

               ในดินของประเทศไทยที่กำหนดไว้ที่ 0.15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Figure 5) เนื่องจากแคดเมียมเป็นธาตุที่เคลื่อนย้ายจากดินไป
               สะสมที่ผลิตผลพืชได้มากกว่าธาตุโลหะหนักอื่นๆ ดังนั้นจึงควรมีการติดตามตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ส่วน
               ตัวอย่างมังคุดในพื้นที่อำเภอพะโต๊ะ และอำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร พบมีการปนเปื้อนของแคดเมียมในเนื้อมังคุดสด
               <0.006 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ถึง 0.06 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม (Table 3 และ Figure 6)  ซึ่งมีจำนวน 1 ตัวอย่างที่สำรวจมี
               แคดเมียมปนเปื้อนเกินมาตรฐานที่กำหนด (0.05 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
















                     Figure 5 Map showing cadmium content in soil in mangosteen planted areas in Phato and

                                            Lang Suan district, Chumphon province















                 Figure 6 Map showing cadmium concentration in fresh mangosteen in Phato and Lang Suan district,
                                                     Chumphon province

                                                           26
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39