Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-19


               5 จังหวัด และมีเปนแถบเล็กๆ ระหวาง ชายแดนประเทศไทยกับกัมพูชา ครั้งหนึ่งปาชนิดนี้เคยมีมากในภาค
               อีสานและภาคกลาง

                              ปาผลัดใบในประเทศมีจํานวนชนิดพืชนอยกวาปาดงดิบ ที่สําคัญคือเบญจพรรณผลัดใบ
               (Mixed  Deciduous  Forest)  ซึ่งนอกจากมีไมมีคา เชน สัก แดง ประดู มะคา ตะแบก แลว ยังมีไมไผนานาชนิด
               มีพืชที่เปนอาหารได หลายอยาง ทั้งที่เปนใบ ดอก ผล เห็ดและพืชหัว เชน มัน กลอย ปาชนิดนี้ไมมีตนไมใน
               วงศไมยาง เนื่องจากมีไมมีคา ดินก็ดีปาชนิดนี้จึงถูกรบกวน ทําลาย เปลี่ยนเปนไรออย ไรสับปะรด ยาสูบ และ

               นาขาว ปจจุบันจะหาปาที่สมบูรณมีนอยมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งปาไมสักที่มีสภาพดีแทบจะหาไมไดแลว
               ปาชนิดนี้มักอยูไมเกิน 700 เมตร พบตามภูเขาตางๆ ในภาคเหนือ ปาสักโดยทั่วไปแลวมีตนสัก อยูเพียง
               10-20%  บริเวณที่มีไมสักอุดมสมบูรณ มักอยูใกลลําน้ํา บนภูเขามีตนสักไมมาก ปาสักผืนใหญผืนสุดทายอยูที่
               ลุมแมน้ํายม ซึ่งกําลังจะสรางเขื่อนในบริเวณ ดังกลาว

                              ปาผลัดใบที่สําคัญอีกอยางหนึ่งคือปาเต็งรัง (Dry Dipterocarp Forest) เปนปาโปรงผลัดใบ
               มีไมวงศยางที่สําคัญคือ เต็ง รัง เหียงและพลวงและพบพรรณไมยาง ไมผลัดใบที่กระจายจากตะวันตก
               สูตะวันออก (Indo  Burma  element)คือ ตนพะยอม และไมวงศยางที่กระจายจากตะวันออกสูตะวันตก
               (Indo-Chinese  element)  คือ ตนยางกราด ปาเต็งรังความจริงพบเฉพาะในเขมร ลาว ไทย พมา เทานั้น

               ปรกติมักไมพบไมไผในปาชนิดนี้ ยกเวนหญา เห็ด โจด ปาชนิดนี้ทนตอการตัดฟน ใหไมใชสอย เชน ฟน ใบตอง
               ตึง และอาหาร เชน ผักหวาน เห็ดชนิดตางๆ ปาชนิดนี้มีมากในอีสานและภาคเหนือ แตถูกทําลาย ที่ใดเปนที่
               ราบเปลี่ยนเปนนาขาว ที่ดอนก็เปลี่ยนเปนไรปอ ไรมันสําปะหลัง ปาเต็งรังพบมากในที่ราบสูงโคราช สวนใน

               ภาคเหนือก็อยูตามภูเขามักไมเกินระดับ 1,000 เมตร ในระดับสูง 1,000 จะพบไมสนสองใบเขามาปะปนอยูดวย
                              ในที่สูงเกิน 1,000 เมตร มักพบปาดิบเขาซึ่งรวมพืชเขตอบอุน (Temperate)  ไวถึง 59 ชนิด
               ไมกอของไทยมีถึง 94 ชนิด หรือประมาณรอยละ 19 ของไมกอทั้งหมดในเอเชียอาคเนย ปาดิบเขาในแตละ
               ภาคไมเหมือนกัน ปาดิบเขาในทางภาคเหนือไดรับอิทธิพลของพันธุพืชเขตเทือกเขาหิมาลัยและจีนใตภาคอีสาน
               ไดรับอิทธิพลของพันธุพืชเขตเทือกเขาอันนัมและจีนใต ภาคตะวันออกเฉียงใตไดรับอิทธิพลของพันธุพืช

               เทือกเขาพนม กระวานและเขมรต่ําสวนภาคใตไดรับอิทธิพลของพันธุพืชเขตมาเลเซีย ปาดิบเขามีตนไมในวงศ
               ไมกอ (Fagaceae)  และในวงศอบเชย (Lauraceae)  เปนพืชเดน ไมในวงศยางไมมี และพบไมพวกสน
               โดยเฉพาะอยางยิ่งสนสามใบอยูเปนหยอมๆ

                              ปาบนเขาหินปูนก็มีลักษณะพิเศษ มีการศึกษากันนอย ภูเขาหินปูนของดอยเชียงดาวมีสังคม
               พืชกึ่งอัลไพน ซึ่งประกอบดวยพืชลมลุกและไมพุมภูเขาหินปูนที่มีลักษณะแบบ Karst  ซึ่งมีกระจัดกระจายใน
               ภาคกลางและภาคใตจะมีปาแคระ จํานวนชนิดพืชมีหลายอยาง และมีเปอรเซ็นตพืชประจําถิ่นสูง พืชพื้นลางมี
               หลายชนิด เชนรองเทานารีชนิดตางๆ และพวกปาลม

                              ปาที่น้ําจืดทวมถึง ปจจุบันมีเหลือนอยมาก ปาชนิดนี้เมื่อกอนอยูตามแมน้ําใหญๆ
               เชน  ลุมแมน้ําเจาพระยา ลุมแมน้ําตาป สังคมพืชน้ําทวมถึงลุมแมน้ํามูล ชาวบานเรียกวา ปาบุง ปาทาม มีไม
               พุม หวาย เหลืออยูนอยมากในภาคใตตอนลางมีปาพรุ (Peat  Swamp  Forest)  ซึ่งมีลักษณะเปนกรดจัดมี
               หวายตะคราทอง หมากแดง สะทอนนก ความจริงปาชนิดนี้มีพืชชั้นสูงไมนอยกวา 300 ชนิด มีพืชในวงศปาลม

               และหวายถึง 13 ชนิด ปาพรุปจจุบันเหลือเพียงเล็กนอยในจังหวัดนราธิวาส และถูกรบกวนเปลี่ยนสภาพไปมาก
                              ปาชายเลนตามชายฝงทะเลมีพรรณไมถึง 74 ชนิด เคยมี 2.3 ลานไร เปนปาที่นาเปนหวง
               ถูกทําลายไปแลวเกือบครึ่งหนึ่ง สวนใหญเปนผลมาจากการทําฟารมเลี้ยงกุง การทําเหมืองแร นาเกลือ
               การขยายเมืองและโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้การควบคุมการทําไมก็ยังขาดประสิทธิภาพ ทําใหปาเสื่อมโทรม

               ไปมาก ปาชายเลนนอกจากมีคุณคาในตัวเองแลว ยังมีสวนเกื้อกูลในการรักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากร
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58