Page 49 -
P. 49

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-15


                              (1) ปาดงดิบเมืองรอน เปนปาที่อยูในเขตที่มีความชุมชื้นสูง ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุม มี
               ปริมาณฝนตกเฉลี่ยเกินกวา 1500 มม ตอป ดินมีความชุมขึ้นอยูตลอดเวลา ขึ้นอยูไดทั้งในที่ราบและที่เปนภูเขา

               สูง มีกระจายอยูทั่วไปตั้งแตภาคเหนือลงไปจนถึงภาคใต ตามปกติจะไมเกิดไฟไหมปาชนิดนี้ เนื่องจากเปนปาที่
               มีความชุมชื้นมาก สามารถแบงยอยตามสภาพความชุมชื้นและระดับความสูงต่ําของภูมิประเทศออกเปน
               3 ชนิด ดวยกันคือ
                                     (1.1) ปาดงดิบชื้น(tropical evergreen rain forest) ปาชนิดนี้โดยทั่วไปเรียกวา

               ปาดงดิบหรือปาฝน เปนปาที่มีอยูมากทางภาคใตและฝงทะเลตะวันออกแถบจันทบุรี โดยทั่วไปจะมีปริมาณ
               น้ําฝนมากกวา 2,000 มม. ตอป สภาพปามักจะรกทึบ ประกอบดวยพันธุไมมากมายหลายรอยชนิด ไมชั้นบน
               สวนใหญเปนไมในวงศยาง (Dipterocarpaceae)  มีลําตนสูงใหญตั้งแต 30 ถึง 50 เมตร มีเถาวัลยและพวก
               ปาลม (Palmae)  ปรากฏอยูมากโดยเฉพาะหวาย นอกจากนั้นก็มีไมพุม ไมลมลุก  และไมไผตางๆ บนตนไมก็

               มักจะมีกลวยไมชนิดตางๆ อีกทั้งปรากฏมีมอสและเฟรน ขึ้นอยูทั่วไป รวมทั้งมีเถาวัลยมากกวาปาชนิดอื่น อยู
               บางโดยเฉพาะตามบริเวณที่มีความชุมชื้นมากๆ และสามารถแบงโดยอาศัยความแตกตางในดานความสูงเหนือ
               ระดับน้ําทะเลและองคประกอบชนิดพันธุไม ออกเปน 2 สังคมยอย คือ
                                            (1.1.1) สังคมปาดงดิบชื้นในระดับต่ํา (lower  evergreen  rain forest)

               เปนปาดงดิบขึ้นที่ปกคลุมพื้นที่ราบและบริเวณเชิงเขาเรื่อยขึ้นไปจนถึงระดับความสูงไมเกิน 600 เมตร เหนือ
               ระดับน้ําทะเล จําแนกชั้นเรือนยอดออกไดเปน 2 ชั้น คือ ชั้นบนเปนไมใหญสูงเกินกวา 30 เมตร เรือนยอดชั้น
               รองลงมาเปนไมขนาดกลางมีความสูงต่ํากวา 30 เมตร

                                            (1.1.2) สังคมปาดงดิบชั้นในระดับสูง (upper evergreen rain forest)
               จะปกคลุมพื้นที่ลาดเขาที่สูงขึ้นไปในชวง 600 ถึง 900 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล จําแนกชั้นเรือนยอดของ
               ตนไมออกไดเปน 2 ชั้น เชนกัน
                                     (1.2) ปาดงดิบแลง (seasonal rain forest  หรือ semi evergreen  forest)
               เปนปาดงดิบที่มีชนิดพันธุไมประเภทที่ผลัดใบผสมอยูคอนขางมาก มีการกระจายอยูทั่วไปอยางกวางขวาง

               โดยเฉพาะภาคที่มีฤดูแลงระหวาง 4-6 เดือน ไดแก ภาคกลาง บางสวนในภาคเหนือและภาค
               ตะวันออกเฉียงเหนือ สวนมากจะปกคลุมพื้นที่ราบลุม ตามบริเวณหุบเขาที่มีระดับความสูงจากน้ําทะเล
               ประมาณ 300-600 เมตร มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 1000-1500 มม. ตอป โครงสรางของปาประกอบไป

               ดวยเรือนยอด 3 ชั้น ไมเดนของเรือนยอดชั้นบนมีความสูงตั้งแต 25 เมตร ขึ้นไป
                                     (1.3) ปาดงดิบเขา (montane forest หรือhill evergreen forest) เปนปาดงดิบที่
               ขึ้นอยูบนพื้นที่ระดับสูงจากน้ําทะเลตั้งแต 1000 เมตรขึ้นไป มีปริมาณน้ําฝน 1500-2000 มม ตอป กระจายอยู
               ตามยอดเขาสูงทั่วทุกภาคของประเทศ ใตสุดปรากฏที่ยอดเขาหลวง จังหวัดนครศรีธรรมราช แตสวนมากจะอยู

               ตามบริเวณยอดเขาทางภาคเหนือ เชน ดอยอินทนนท ดอยเชียงดาว และดอยปุย เปนตน สําหรับภาคกลาง
               และภาคตะวันออกเฉียงเหนือก็มีอยูบาง เชน เขาใหญ ภูกระดึงและยอดเขาอื่นๆ ที่สูงเกินกวา 1000 เมตรขึ้น
               ไปในหลายจังหวัด ปาชนิดนี้อาจแบงตามลักษณะโครงสรางของปาออกเปน 2 สังคมยอยคือ
                                     ปาดงดิบเขาระดับต่ํา (lower montane forest) ที่อยูในระดับความสูงจากน้ําทะเล

               1000 ถึง 1800 เมตร เปนปาที่ประกอบไปดวยไมขนาดสูงใหญ มีเรือนยอดชั้นบนสูงถึง 30 เมตร มีไมขึ้นอยู
               หนาแนน มีไมในวงศกอ (Fagaceae) เปนไมเดนผสมกับไมในสกุลอื่นๆ ตามพื้นปาจะมีซากพืช (litter) ทับถม
               ไมมากนัก ตามตนไมก็มีพืชเกาะติดนอย
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54