Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-18


               จึงเปนของคูกัน ไฟเทานั้นที่จะสามารถคงสภาพของปาเต็งรังไวได หากไมมีไฟ ปาเต็งรังก็จะคอยๆ เปลี่ยน
               สภาพไปเปนปาชนิดอื่น

                              (3) ปาทุงหรือปาหญาเปนปาที่เกิดขึ้นภายหลังจากที่ปาธรรมชาติชนิดอื่นๆ ดังกลาวขางตน
               ไดถูกทําลายไปหมด ดินมีสภาพเสื่อมโทรม ตนไมไมอาจขึ้นหรือเจริญเติบโตตอไปไดพวกหญาตางๆ จึงเขามา
               แทนที่จะพบอยูทั่วไปตามภาคตางๆ ของประเทศไทย


               2.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
                       สมศักดิ์ สุขวงศ (2537: 55-59) ไดอธิบายถึงทรัพยากรชีวภาพในประเทศไทยไวดังนี้

                              “ประเทศไทยอยูในเขตรอน ตั้งอยูบนคาบสมุทร ภูเขาทางภาคเหนือเปนเทือกเขาที่ติดตอกับ
               เทือกเขาหิมาลัย และมีทิวเขาทอดตัวลงทางใต เชน เทือกเขาธงชัย เทือกเขาตะนาวศรี ซึ่งกั้นชายแดนไทย-
               พมา นอกจากนี้ยังมีเทือกเขาภูเก็ต เทือกเขานครศรีธรรมราชทอดตัวลงทางใตลงไปถึงชายแดนจดเทือกเขา
               สันกาลาคีรี สวนทางภาคกลางตอภาคอีสานก็มีเทือกเขาเพชรบูรณ เทือกเขาดงพญาเย็น และเทือกเขาพนมดง
               รัก ซึ่งกั้นชายแดนไทยกัมพูชา ประเทศไทยเปนที่รวมของพรรณพืช 3 เขต คือ (1) Indo-Burma,

               (2)  Annmeticและ (3) Melesiaและเปนที่รวมของพันธุสัตว 3 เขต คือ Sino Himalayan, Indo-Chinese
               และ Sundaicประเทศไทยเปนรอยตอระหวางปาดงดิบขึ้นกับปาผลัดใบเขตรอนของโลก
                              ในประเทศไทยสังคมพืชนั้นหลากหลาย อยูชิดติดตอกันคลายโมเสค (Mosaic        of

               Vegetation)  บอยครั้งที่พบวาริมหวยเปนปาดิบมีหวาย สูงขึ้นไปเพียงเล็กนอยเปนปาเบญจพรรณผลัดใบ
               และหางออกไปไมมากเปนปาเต็งรังสูงขึ้นไปอีกนิดเปนปาดิบเขา สังคมพืชตางๆ นี้อยูใกลชิดติดตอกัน จํานวน
               สิ่งมีชีวิตก็หลากหลายตามไปดวย หรือบนภูเขาหินปูนแถบกาญจนบุรีบนดานลาดทิศใตเปนปาไผ สวนดานลาด
               ทิศเหนือเปนปาผลัดใบ มีไมตะแบกและไผรวมกัน แตตามริมหวย และสันเขาเปนปาดงดิบ
                              ประเทศไทยมีพืชที่มีทอลําเลียง 10,000 ชนิด (ความจริงในภูมิภาค Melesian  มีพรรณไม

               ดอก 25,000 ชนิด ประมาณ 10 % ของพืชในโลก) ไทยมีหวาย 55 ชนิด ในโลกมีหวายทั้งหมด 600 ชนิด มีไผ
               41 ชนิด  ขณะที่ในเอเชียอาคเนยมีไผไมต่ํากวา 200 ชนิด มีตนไมในวงศยาง 65 ชนิด ขณะที่ทั้งโลกมีตนไมใน
               วงศยาง 500 ชนิด เรามีกลวยไมไมต่ํากวา 1,000 ชนิด นก 916 ชนิด สัตวเลี้ยงลูกดวยนม 282 ชนิด สัตวครึ่ง

               น้ําครึ่งบก 105 ชนิด งู 150 ชนิด เตา 28 ชนิด ปลาน้ําจืด 600-650 ชนิด
                              ใตคอคอดกระ ปาสวนใหญเปนปาดิบชื้น (Tropical Rain Forest) มีไมวงศยาง
               (Dipterocarpeae)  เปนไมเดน มีจํานวนชนิดพรรณพืชมากที่สุด คลายคลึงกับปาในทางมาเลเซีย มีความ
               สลับซับซอน ยิ่งเปนปาดิบที่ลุมต่ําแลว จะมีพรรณพืชตอหนวยเนื้อที่มากที่สุด มีพืชจําพวกหวาย พืชในวงศ

               ขิงขาและพวกปาลมหลายชนิด เชน ระกํา หลุมพี ตาว หรือลูกชิด มีพืชสมุนไพรมากมายจนคนปาซาไก
               ดํารงชีวิตอยูในประเภทนี้ ไดรับฉายานามวา จาวแหงสมุนไพร เหนือคอคอดกระ ภูมิอากาศมีฤดูกาลชัดเจนขึ้น
               มีปาดงดิบที่สําคัญประเภทหนึ่งคือปาดิบแลง (Dry Evergreen Forest) ซึ่งอยูระหวางปาดิบขึ้นกับปาผลัดใบ
               ปาดิบแลงนี้มีตนไมในวงศไมยางนอยกวาปาดิบขึ้นทางใตแตมีเปอรเซ็นตพืชประจําถิ่น (endemic)  สูง เชน

               ตะเคียนหิน เคียมคะนอง สะเดาปก ความจริงแลว ปาชนิดนี้มีจํานวนชนิดพืชมากที่สุดในเขต Indo-Burma
               มีไมผลมากมาย เชนคอแลน (ลิ้นจี่ปา) หยี มะมวงปา ขนุนปา สะตอ มะไฟ เปนตน ปาชนิดนี้มักพบไมเกิน
               400 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล ตัวอยางปาดิบแลงที่สําคัญคือ ปาดงพญาเย็น แตเปนที่นาเสียดายที่ปาดิบแลง
               ในประเทศไทยไดถูกทําลายเปลี่ยนเปนไรขาวโพดและที่เกษตรกรรมเกือบหมดแลว เหลืออยูเพียงเล็กนอยใน

               เขตอุทยานแหงชาติ เชน เขาใหญ ทับลาน และที่เปนผืนใหญสุดทายคือบริเวณปาพนมสารคาม หรือปารอยตอ
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57