Page 57 -
P. 57

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                       3-1




                                                           บทที่ 3

                                                     ปญหาของพื้นที่สูง


                         พื้นที่สูงมีปญหาที่สําคัญ 7 ประการ คือ (1) การตัดไมทําลายปา (2) ปญหาการปลูกฝน (3) ปญหา

                  การชะลางพังทลายของดิน (4) ปญหาดินถลม (5) ปญหาชาวเขา (6) ปญหาการประกอบอาชีพของ
                  ประชากรบนพื้นที่สูง และ(7) ปญหาสิ่งแวดลอม โดยมีรายละเอียดดังนี้

                  3.1 ปญหาการตัดไมทําลายปา

                         การบริหารจัดการปาไมไดดําเนินการมาตั้งแตการสถาปนากรมปาไมเมื่อ พ.ศ. 2439 รัฐบาลได
                  ตระหนักถึงความสําคัญของพื้นที่ปาไมโดยเฉพาะในพื้นที่สูงหรือพื้นที่ภูเขา จึงไดมีนโยบายในการอนุรักษ
                  ปาไมมาโดยอยางตอเนื่อง การทบทวนวรรณกรรมในหัวขอนี้จะครอบคลุม 5 เรื่อง คือ (1) นโยบายการ

                  อนุรักษพื้นที่ปาไมจากอดีตถึงปจจุบัน (2) สาเหตุที่สําคัญในการบุกรุกทําลายพื้นที่ปาไม (3) สถานภาพปาไม
                  ของประเทศในปจจุบัน  (4)  พื้นที่ปาไมบนพื้นที่สูง (5)  สถานการณความขัดแยง และ(6) การวิเคราะห
                  สถานการณปาไมในภาพรวมโดยระบบ DPSIR

                         เนื่องจากนโยบายปาไมที่กําหนดขึ้นในอดีตถึงปจจุบัน ไมไดกําหนดพื้นที่ปาไมบนพื้นที่สูงและพื้นที่
                  ราบเปนการเฉพาะ การทบทวนในบทนี้จะเปนปญหาการบุกรุกทําลายปาไมในภาพรวมในหัวขอ 3.1.1-
                  3.1.3 และจะวิเคราะหเฉพาะพื้นที่ปาไมในพื้นที่สูงในหัวขอที่ 3.1.4 โดยมีรายละเอียดดังนี้

                         3.1.1 นโยบายการอนุรักษพื้นที่ปาไมจากอดีตถึงปจจุบัน
                         การอนุรักษพื้นที่ปาไมไดอาศัยอํานาจตามกฎหมายที่เริ่มประกาศใชมาตั้งแต พ.ศ. 2417

                  ในชวงสมัยกรุงรัตนโกสินทรมาจนถึง พ.ศ. 2475 ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญา
                  สิทธิราชมาสูระบอบประชาธิปไตย โดยมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุด และมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
                  ภายใตรัฐธรรมนูญ จึงไดมีมติคณะรัฐมนตรี ควบคูไปกับการตรากฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการอนุรักษพื้นที่

                  ปาไมจนถึงปจจุบัน การทบทวนที่มาของอํานาจในการอนุรักษพื้นที่ปาไมจึงไดกําหนดเปน 2 เรื่อง คือ
                  (1) กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม และ (2) มติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไมที่
                  สําคัญ ดังนี้
                                (1) กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม

                                การตรากฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษพื้นที่ปาไม ไดเริ่มมาตั้งแต พ.ศ. 2417 โดยมี
                  ประกาศพระบรมราชโองการวาดวยภาษีไมขอนสักและไมกระยาเลย จ.ศ. 1236 ในชวงตนกรุงรัตนโกสินทร
                  การตรากฎหมายสวนใหญนั้นเกี่ยวของกับไมสัก ตอมา พ.ศ. 2456 ไดมีประกาศใชพระราชบัญญัติรักษาปา
                  ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2479 หลังจากนั้นไดมีการประกาศใชพระราชบัญญัติคุมครองและสงวนปา

                  พ.ศ. 2481 และประกาศใชพระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 ซึ่งเปนการยกเลิก พระราชบัญญัติรักษาปา
                  พ.ศ. 2456   และ ฉบับที่ (2) พ.ศ. 2497 พระราชบัญญัติปาไม พ.ศ. 2484 ไดมีการแกไขเพิ่มเติมอีก 4 ครั้ง
                  คือ ฉบับที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2491 ฉบับที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2494 และฉบับที่ 4 เมื่อ พ.ศ. 2503 ฉบับที่ 5 เมื่อ พ.ศ.
                  2518 กฎหมายที่มีบทบัญญัติที่เปนการอนุรักษพื้นที่ปาไมอยางเขมงวด 2 ฉบับ ไดประกาศในเวลาตอมา

                  คือ (1) พระราชบัญญัติคุมครองและสงวนพันธุสัตวปา พ.ศ. 2503 ซึ่งถูกยกเลิกเมื่อมีการประกาศ
                  พระราชบัญญัติคุมครองและสงวนพันธุสัตวปา พ.ศ. 2535 และ(2) พระราชบัญญัติอุทยานแหงชาติ
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62