Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                      2-14


                       2.3.14 แมน้ําที่เกิดจากทิวเขาหลวงพระบาง
                       ดานทิศตะวันออก น้ําไหลลงหวยตางๆ ในเขตสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แลวไปลง

               แมน้ําโขงทั้งสิ้น

                       ดานทิศตะวันตก
                            (1) แมน้ํานาน

                            (2) แมน้ําปาด

                       2.3.15 แมน้ําในภาคกลาง
                       แมน้ําเจาพระยา
                              แมน้ําที่เปนแควไหลลงแมน้ําเจาพระยา คือ แมน้ําสะแกกรัง และ แมน้ําปาสัก

                              แมน้ําที่แยกมาจากแมน้ําเจาพระยามี 3 สาย คือ แมน้ําทาจีน แมน้ํานอย และแมน้ําลพบุรี
                          (1) แมน้ําทาจีน
                          (2) แมน้ํานอย

                          (3) แมน้ําลพบุรี

                       2.3.16 แมน้ําในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       พื้นที่ภาคนี้มีอาณาเขตกวางใหญและมีสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติลอมรอบ คือ ดานทิศเหนือมีแมน้ําโขง

               ดานทิศตะวันออกมีแมน้ําโขงและทิวเขาพนมดงรัก ดานทิศใตมีทิวเขาสันกําแพงและทิวเขาพนมดงรัก ดานทิศ
               ตะวันตกมีทิวเขาเพชรบูรณ และทิวเขาดงพญาเย็น น้ําซึ่งมีในหวย ลําน้ํา คลอง และแมน้ํา ตางก็ไหลลงแมน้ํา
               โขงทั้งสิ้น แตตอนดานเหนือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 3 ซึ่งน้ําไหลลงแมน้ําโขงโดยตรง สวนอีก 2 ใน 3 ซึ่งเปน
               ตอนดานใต น้ําไหลลงแมน้ํามูลเกือบทั้งหมด เพราะมีสันแนวธรรมชาติแบงน้ําใหลงตอนดานเหนือและใหลง
               ตอนดานใต การแบงน้ําจากสันแนวธรรมชาติดังกลาว มีดังนี้

                       ดานทิศเหนือ (น้ําไหลลงแมน้ําโขง) มี 2 สาย คือ
                          (1) น้ําเหือง
                          (2) แมน้ําเลย


               2.4 ปาไมในประเทศไทย
                       Smitinand (1977: 1-15) อางถึงโดย นิวัติ เรืองพานิช, 2556: 24-40) ไดจําแนกปาทั้งประเภทที่ไม
               ผลัดใบและปาประเภทที่ผลัดใบของประเทศไทย ออกเปนปาชนิดตางๆ ดังนี้ คือ

                       2.4.1 ปาไมผลัดใบ (evergreen forests) จําแนกโดยอาศัยลักษณะภายนอกที่ปรากฏ
               (physiognomic characteristics) คือปาประเภทนี้พันธุไมในปาสวนใหญจะคงมีใบเขียวชอุมอยูตลอดป ถึงใบ
               จะรวงหลนไปก็จะมีใบออนแตกใหมมาแทนที่ผลัดเปลี่ยนกันไปโดยไมทิ้งใบหมดพรอมๆกันทั้งตน หรือทั้งปา
               เหมือนปาประเภทที่ผลัดใบ และไดแบงปาประเภทที่ไมผลัดใบนี้ออกเปน 4 ชนิดคือ :-

                              ปาดงดิบเมืองรอน (tropical evergreen forests) แบงเปนปาดิบชื้น ดงดิบแลงและดงดิบเขา
                              ปาสนเขา (pine forest)
                              ปาพรุหรือปาบึง (swamp forests) แบงเปนปาบึงน้ําจืด ปาเลนน้ําเค็มและปาพรุ
                              ปาชายหาด (strand vegetation หรือ beach forest)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53