Page 51 -
P. 51
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2-17
ปาไมผลัดใบ ในฤดูแลงจะมีไฟปาเกิดขึ้นเปนประจํา ปาชนิดนี้ไมปรากฏในภาคใตเลย Smitinand (1977) ได
แบงปาผลัดใบในประเทศไทยออกเปน 3 ชนิด คือ
ปาเบญจพรรณ (mixed deciduous forest)
ปาเต็งรัง (deciduous dipterocarps forests) และ
ปาทุงหรือปาหญา (savanna forest)
(1) ปาเบญจพรรณ บางครั้งเรียกวาปาผสมผลัดใบ เปนปาที่ประกอบไปดวยพันธุไมหลาย
ชนิด และสวนมากจะทิ้งใบในฤดูแลงจนเหลือแตกิ่งกาน เนื่องจากในชวงฤดูแลงพืชขาดแคลนน้ําที่จะใชในการ
คายน้ําจึงตองปรับตัวโดยการทิ้งใบเพื่อลดการคายน้ําของตนไม ปาชนิดนี้ในบางพื้นที่จะมีไมสัก
(Tectonagrandis Linn.) เปนไมเดน ขึ้นเปนกลุมไมสักลวนๆ อาจมีไมอื่นแทรกอยูบาง เชนในทางภาคเหนือ
และบางแหงในภาคกลาง เพื่อความสะดวกบางครั้งจึงเรียกปาชนิดนี้วาปาไมสัก (Teak-bearing forest) ปาไม
สักมีถิ่นกําเนิดลงมาใตสุดถึงจังหวัดกาญจนบุรี ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีปาเบญจพรรณอยูไมมากนัก
มักจะเกิดขึ้นเปนหยอมเล็กๆ และปกติตามธรรมชาติจะไมมีไมสักขึ้นอยู ลักษณะของปาเบญจพรรณโดยทั่วไป
จะเปนปาโปรง ประกอบดวยตนไมขนาดกลางเปนสวนใหญ พื้นที่ปาไมรกทึบ มีไมไผชนิดตางๆ ขึ้นอยูมาก
ในฤดูแลงตนไมเกือบทั้งหมดจะพากันผลัดใบจึงมีเชื้อเพลิงสะสมอยูมาก ทําใหเกิดมีไฟไหมปาชนิดนี้เปนประจํา
ทุกป จากความแตกตางในลักษณะสภาพภูมิประเทศและลมฟาอากาศ สามารถแบงปาเบญจพรรณออกเปน
3 ชนิดยอยดวยกัน คือ
(1.1) ปาเบญจพรรณชื้นระดับสูง (moist upper mixed deciduous forest) คือ
ปาเบญจพรรณที่คอนขางชื้น ขึ้นอยูในชวง 300-600 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล ดินมักจะเปนดินรวน (loamy)
ที่เกิดจากหินปูนหรือหินแกรนิต สามารถจําแนกเรือนยอดออกไดเปน 3 ชั้น เรือนยอดชั้นบนประกอบดวยพันธุไม
หลายชนิด
(1.2) ปาเบญจพรรณแลงระดับสูง (dry upper mixed deciduous forest)
เปนปาที่อยูตามสันเขาที่ระดับความสูง 300-500 เมตร เหนือระดับน้ําทะเล สภาพปาจะโปรงมีความหนาแนน
นอยกวาปาเบญจพรรณชื้นระดับสูง เนื่องจากมีการสูญเสียน้ําจากการคายระเหยและดินถูกชะลางพังทลายมาก
เรือนยอดของปายังคงมีอยู 3 ชั้น
(1.3) ปาเบญจพรรณระดับต่ํา(lower mixed deciduous forest) ปาชนิดนี้จะ
เกิดในที่ราบต่ํา บริเวณที่คอนขางจะแหงแลงชวงระดับความสูง 50-300 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล ดินอาจเปน
ดินรวนปนทรายหรือดินลูกรัง มีชั้นเรือนยอด 3 ชั้น เชนกัน เพียงแตเรือนยอดชั้นบนจะไมมีไมสักเหมือนปา
เบญจพรรณระดับสูง ซึ่งเปนลักษณะสําคัญที่ใชจําแนกความแตกตางระหวางปาเบญจพรรณระดับต่ํากับปา
เบญจพรรณระดับสูง ปาเบญจพรรณระดับต่ําจึงจัดเปน nonteak-bearing forest
(2) ปาเต็งรัง บางครั้งเรียกวาปาแดง ปาโคก หรือปาแพะ พบมากในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคกลาง ไมปรากฏวามีปาชนิดนี้ในภาคใตและภาคตะวันออก นอกจาก
หมูไมเหียง (DipterocarpusobtusifoliusTeijsm ex Miq.) ที่พบเห็นอยูบางที่จังหวัดสุราษฎรธานีและทาง
ตอนเหนือของจังหวัดปราจีนบุรีตอกับจังหวัดนครราชสีมาจะมีปาชนิดนี้เปนแนวแคบๆ เทานั้นสภาพปาโปรง
ขึ้นอยูทั้งในที่ราบและบนภูเขาที่ความสูง 50-1300 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล ดินขาดความอุดมสมบูรณสวน
ใหญเปนดินทรายและดินลูกรัง บางแหงจะมีหินโผล (rock outcrop) เนื่องจากมีไฟไหมทุกปและมีการชะลาง
พังทลายของดินสูง ตนไมในปาจะมีขนาดเล็ก ความสูงประมาณ 20-25 เมตร แตถาอยูบนสันเขาหรือมีสภาพ
แหงแลงมากก็จะสูงเพียง 15-20 เมตรเทานั้น การที่มีไฟไหมปาทุกปทําใหตนไมตองปรับตัว ดังนั้นตนไมที่ดํารงชีพ
เปนไมที่มีเปลือกหนา ทนไฟ และทนความรอนไดดี รวมทั้งมีความสามารถในการแตกหนอสูง ไฟกับปาเต็งรัง