Page 50 -
P. 50
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2-16
ปาดงดิบเขาระดับสูง (upper montane forest) ที่อยูสูงจากระดับน้ําทะเลมากกวา
1800 เมตรขึ้นไป ซึ่งมีลักษณะโครงสรางของสังคมแตกตางกันไปอยางเดนชัด คือ ปาดงดิบเขาระดับสูงนี้จะมี
เรือนยอดชั้นบนสูงประมาณ 20 เมตร กิ่งกานจะคดงอรวมตัวเปนกระจุกบนกิ่งใหญ เนื่องจากอากาศหนาวเย็น
ลมพัดแรงและมีความชันสูง ตามลําตนจะมีฝอยลม กลวยไมและโดยเฉพาะมอสเกาะติดอยางหนาแนน
พื้นปามักจะแนนทึบ มีซากพืชอยูมาก บางแหงพืชอยูมาก บางแหงมีมอสปกคลุมเปนบริเวณกวาง บริเวณที่ชื้น
แฉะมากๆ อาจมีขาวตอกฤาษี (sphagnum moss) ขึ้นอยูไดเชน บริเวณดอยอางกา บนยอดดอยอินทนนท
ซึ่งมีความสูงมากกวา 2,000 เมตรเหนือระดับน้ําทะเล บริเวณที่โลงบนยอดเขาสูงที่มีอากาศหนาวเย็นจะมี
สภาพแวดลอมคลายเขตอบอุน (temperate zone) เชนที่ยอดดอยเชียงดาว ซึ่งมีความสูงประมาณ 1900 เมตร
จากระดับน้ําทะเล มีความชื้นสูงและอากาศหนาวเย็น ปรากฏมีพืชเมืองหนาว (subalpine vegetation)
หลายชนิดขึ้นอยู สกุลที่พบไดแก Geranium, Primula, Saxifraga, Rhododendron และ Zanthoxylum
เปนตน
(2) ปาสนเขา ปาชนิดนี้จะขึ้นกระจายอยูเปนหยอมๆ โดยเฉพาะตามที่เปนเขาและที่ราบบาง
แหง สวนมากจะอยูในภาคเหนือ เชนจังหวัดเชียงใหม เชียงราย แมฮองสอน ลําปาง ตาก และเพชรบูรณ และ
บางแหงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหวัดเลย ศรีสะเกษ สุรินทรและอุบลราชธานี เปนตน โดยทั่วไปปาสน
เขาชอบขึ้นอยูตามสันเขาที่อากาศหนาวเย็นและดินขาดความอุดมสมบูรณสวนมากจะอยูสูงจากระดับน้ําทะเล
ในชวง 200-1800 เมตร มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1000-1500 เมตรตอป
ปาสนเขาในประเทศไทยมีอยูนอยและตนที่มีขนาดใหญมักจะถูกเจาะและเผาบริเวณโคนตน
เพื่อสกัดเอาน้ํามันสน ทําใหเกิดรอยแผล สวนใหญลําตนคอดกิ่วและลมตายในที่สุดสภาพปาจึงเสื่อมโทรมและ
ประชากรมีแนวโนมลดลงอยางรวดเร็ว หากไมมีมาตรการปองกันดูแลรักษาอยางจริงจัง ปจจุบันยังพบมีปาสน
เขาที่พอใหเห็นอยูบาง ไดแก ปาสนวัดจันทร เขตอําเภอแมแจม จังหวัดเชียงใหม และปาสนอีกหลายแหงใน
เขตอําเภอขุนยวม จังหวัดแมฮองสอน รวมทั้งปาสนในเขตอุทยานแหงชาติดอยอินทนนท ดอยปุย ภูกระดึง
ทุงแสลงหลวง แมน้ําหนาว เปนตน
(3) ปาพรุหรือปาบึง(swamp forests) เปนปาที่ขึ้นอยูในบริเวณพื้นที่ชุมน้ํา (wetland)
มีน้ําขังอยูเสมอ ซึ่งอาจจะเปนบริเวณที่ราบลุมสองฝงลําน้ํา ตามหนอง บึง ปากแมน้ํา ตลอดจนชายฝงทะเลที่มี
ดินเลนและน้ําทะเลทวมถึง สวนมากจะอยูบริเวณที่มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยมากกวา 2000 มม. ตอป การที่พืช
พรรณตางๆ ตองดํารงชีพอยูในสภาพแวดลอมที่มีน้ําขังชื้นแฉะอยูเชนนี้ ทําใหเกิดการปรับตัวและมีลักษณะ
พิเศษเชน ที่โคนตนมักจะมีพูพอน (buttress) ระบบรากสวนใหญจะเปนรากแขนงแผกวางและแข็งแรง มีราก
หายใจ (pneumatophores) เพื่อชวยในการหายใจและรากค้ํายัน (stilt root) ชวยในการพยุงลําตน สามารถ
จําแนกตามสภาพแวดลอมออกเปน 3 ชนิดยอย คือ
ปาบึงน้ําจืด (freshwater swamp forest)
ปาเลนน้ําเค็ม ( mangrove swamp forest) และ
ปาพรุ (peat swamp forest)
2.4.2 ป า ผ ลั ด ใบ (deciduous forests) บ ริเ ว ณพื้ นที่ ใ น ภ า ค เ ห นือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางที่มีความสูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 1000 เมตร มีสภาพภูมิอากาศ
คอนขางแหงแลงมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 800-1200 มม ตอป ดินมักจะเปนดินรวนปนทราย ดินปน
กรวด บางแหงก็เปนดินลูกรัง พันธุไมที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่แถบนี้สวนใหญจะพากันทิ้งใบในฤดูแลงและเริ่มแตกใบ
ใหมในตนฤดูฝน จัดไดวาเปนปาประเภทผลัดใบหรือบางครั้งเรียกวา monsoon forest ไมในปาประเภทนี้จะ
ปรากฏมีวงป (annual rings) ความสูงของไมในปาผลัดใบโดยเฉลี่ยจะสูงประมาณ 20-25 เมตร ซึ่งต่ํากวาไมใน