Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       transition matrix ในการศึกษาโอกาสในการเปลี่ยนแปลงฐานะทางรายไดพบวา โอกาสในการเลื่อน

                       ลำดับชั้นฐานะทางรายได การถือครองสินทรัพย และการถือครองที่ดินจะเพิ่มสูงขึ้นเมื่อพิจารณา
                       ชวงเวลาที่ยาวนานขึ้น กลาวคือ โอกาสในการเปลี่ยนแปลงกลุมมีสูงขึ้นเมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลง

                       จากป 2543 ไปยังป 2560 แตจะมีโอกาสการเปลี่ยนกลุมนอยลงเมื่อพิจารณาการเปลี่ยนแปลงจากป

                       กอนหนาไปยังปถัดไป อยางไรก็ตาม โอกาสในการเลื่อนลำดับชั้นในดานของการถือครองสินทรัพยกับ
                       ที่ดินมีโอกาสต่ำกวา นอกจากนี้งานวิจัยไดใชเครื่องมือในการแบงกลุม และแยกยอยผลดวยสถิติเชิง

                       พรรณนา พบวา ความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้นภายในกลุมผูสูงวัยดวยกันเองมากกวาการเปรียบเทียบกับกลุม
                       ที่มีอายุนอยกวา อยางไรก็ตามเพื่อใหเห็นภาพที่ถูกตองมากขึ้นการศึกษาไดประยุกตใชแบบจำลอง

                       ทางสถิติเพื่อทดสอบวาปจจัยใดบางที่เชื่อมโยงกับความเหลื่อมล้ำอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ

                              ผลการศึกษาจากการใชแบบจำลองทางเศรษฐมิติพบวา ปจจัยที่มีผลเชิงบวกอยางมีนัยสำคัญ

                       ทางสถิติตอความเหลื่อมล้ำทางรายได ไดแก อายุหัวหนาครัวเรือน cohort ของหัวหนาครัวเรือนตาม

                       เจเนอเรชัน และจำนวนปการศึกษาของหัวหนาครัวเรือน ในขณะที่จำนวนสมาชิกครัวเรือน นโยบาย
                       การศึกษาฟรี และนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคมีผลในทางลบตอความเหลื่อมล้ำทางรายได ในขณะ

                       ที่ความเหลื่อมล้ำทางการถือครองสินทรัพยมีความสัมพันธทางสถิติในเชิงบวกกับตัวแปร อายุของ
                       หัวหนาครัวเรือน เพศของหัวหนาครัวเรือน และนโยบายการศึกษาฟรี และตัวแปรที่สงผลเชิงลบตอ

                       ความเหลื่อมล้ำทางการถือครองสินทรัพย ไดแก ตัวแปรหุนที่แสดงวาหัวหนาครัวเรือนเปนคนในกลุม

                       ที่เกิดกอนหรือระหวางสงครามโลกครั้งที่สอง สัดสวนของจำนวนสมาชิกของครัวเรือนที่อยูในวัย
                       แรงงาน และนโยบายกองทุนหมูบาน ในสวนของความเหลื่อมล้ำทางที่ดินนั้น ตัวแปรที่มีผลตอความ

                       เหลื่อมล้ำดังกลาวในทางบวกไดแก นโนบายการศึกษาฟรี และนโยบายกองทุนหมูบาน ในขณะที่ตัว

                       แปรที่มีผลในทางลบไดแก จำนวนสมาชิกในครัวเรือน สัดสวนของจำนวนสมาชิกของครัวเรือนที่อยูใน
                       วัยแรงงาน และนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค


                              แมผลของการศึกษาจะมาจากเพียงขอมูลการสำรวจของ Townsend Thai data ซึ่งมีการ
                       สำรวจในพื้นที่จำกัดเทานั้น แตผลการศึกษาอาจสามารถนำมาสูขอเสนอทางนโยบายที่นาสนใจใน

                       หลายประการ ภายใตเงื่อนไขที่การลดความเหลื่อมล้ำในสังคมสูงวัยเปนประโยชนทั้งกับภาคเกษตร
                       และประเทศโดยรวม ขอเสนอแนะทางนโยบายจากการศึกษามีดังนี้ การลดความเหลื่อมล้ำทางรายได

                       ของเกษตรกรไทยภายใตสังคมผูสูงวัย ควรเนนไปที่การสงเสริมสุขภาพของภาคเกษตร รวมทั้งการเพิ่ม

                       โอกาสการศึกษาในทุกรูปแบบ และทุกชวงวัยโดยไมมีคาใชจาย สวนขอเสนอของการลดความเหลื่อม
                       ล้ำทางสินทรัพยคือ การสงเสริมการทำงาน การ upskill reskill การเขาถึงเงินทุนเพื่อลงทุนเพิ่มเติม

                       ในสินทรัพยที่จำเปนสำหรับการทำเกษตรสมัยใหม และทายที่สุดการลดความเหลื่อมล้ำดานการถือ
                       ครองที่ดินสามารถลดลงไดดวยนโยบายดานสาธารณสุข












                                                                จ
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11