Page 3 -
P. 3

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                       รหัสโครงการ:  RDG6220012

                       ชื่อโครงการ:   ผลกระทบของสังคมผูสูงอายุตอการผลิตในภาคเกษตรและความเหลื่อมล้ำของ

                                     ครัวเรือนเกษตรกรในชนบทของประเทศไทย

                       ชื่อนักวิจัย:   ผศ.ดร.อุชุก ดวงบุตรศรี     คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

                                     ผศ.ดร.ทัศนีย สติมานนท      คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ

                                                                  สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

                                     ผศ.ดร.มณเฑียร สติมานนท      คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร


                                     นายชรพล จันทร                สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

                                     นายปยยุทธ จิตตจำนงค       สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร





                                                       บทสรุปผูบริหาร


                              โครงการวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของสังคมสูงวัยตอภาคเกษตรของประเทศไทยใน 2 ดาน คือ
                       ดานการผลิต และดานความเหลื่อมล้ำ การวิเคราะหใชขอมูลสำรวจชนบทไทยจาก Townsend Thai

                       Project ซึ่งมีการสำรวจครัวเรือนชนบทไทยในรูปของขอมูลภาคตัดขวางแบบขามชวงเวลา (Panel
                       data) ตั้งแตป พ.ศ.2543 ถึง พ.ศ.2560


                       ผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอการผลิตในภาคเกษตร

                          งานวิจัยนี้ศึกษาผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอการผลิตในภาคเกษตรของประเทศไทยใน 4 มิติ ไดแก


                               1)  การแบงแปลงยอยที่ดิน (Land fragmentation)

                               2)  ความหลากหลายในการดำรงชีพ (Livelihood diversifications)


                               3)  การละทิ้งไมใชประโยชนที่ดิน (Land abandonment)

                               4)  ประสิทธิภาพการผลิต (Technical efficiency)

                              การศึกษาในประเด็นการแบงแปลงยอยที่ดินใชดัชนี Simpson index ในการอธิบายระดับ

                       ความเขมขนของการแบงแปลงยอยเปนหลัก และใชขนาดพื้นที่เกษตร (Total land size) จำนวน
                       แปลง (Number of plots) และขนาดแปลงเฉลี่ย (Average plot size) ประกอบการวิเคราะห โดย

                       หาก Simpson index มีคาเทากับศูนยแสดงวาครัวเรือนถือครองที่ดินเพียงแปลงเดียว (ระดับการ

                       แบงแปลงยอยต่ำ) แตถาเขาใกลหนึ่งแสดงวาครัวเรือนมีที่ดินขนาดใกลเคียงกันจำนวนหลายแปลง
                       (ระดับการแบงแปลงยอยสูง) ผลการศึกษา พบวา เกษตรกรในวัยทำงานจะขยายการผลิตโดยการเพิ่ม







                                                                ข
   1   2   3   4   5   6   7   8