Page 4 -
P. 4

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       จำนวนแปลงที่ดินซึ่งมีขนาดใหญกวาแปลงเดิมเล็กนอย พื้นที่เกษตรจึงเพิ่มขึ้นพรอม ๆ กับขนาดแปลง

                       เฉลี่ย ขณะที่การลดการผลิตของเกษตรกรสูงวัยเกิดขึ้นในรูปการลดจำนวนแปลง โดยเฉพาะอยางยิ่ง
                       แปลงที่มีขนาดใหญ สงผลใหขนาดพื้นที่เพาะปลูกและขนาดแปลงเฉลี่ยลดลง


                              ผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอความหลากหลายในการดำรงชีพของเกษตรกรไทยแสดงผาน
                       3 ตัวชี้วัด ไดแก จำนวนกิจกรรมทางการเกษตร (Number of farm activities) ดัชนีแสดงความ

                       หลากหลายในการทำเกษตร (Simpson index of farm diversification) ดัชนีแสดงความ

                       หลากหลายของรายได (Simpson index of income diversification) พบวา อายุหัวหนาครัวเรือน
                       สงผลใหจำนวนกิจกรรมทางการเกษตรและดัชนีความหลากหลายของครัวเรือนเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง

                       กลาวคือ ความหลากหลายในการดำรงชีพจะเพิ่มสูงขึ้นในชวงวัยทำงานของหัวหนาครัวเรือน ใน
                       ลักษณะที่รายไดจากกิจกรรมเหลานี้เปนสัดสวนที่ใกลเคียงกัน แตเมื่อเขาสูวัยชรา ความหลากหลาย

                       ของกิจกรรมและรายไดจะลดลง โดยความหลากหลายของรายไดจะลดลงกอน แสดงวาเกษตรกรสูง

                       วัยเผชิญกับขอจำกัดในการหารายไดจากนอกภาคเกษตรเปนอันดับแรก อาจเพราะอายุที่มากขึ้น ทำ
                       ใหโอกาสในการถูกจางงานลดลง ขณะที่เกษตรกรยังสามารถเพิ่มหรือคงความหลากหลายในการทำ

                       เกษตรไวไดตอไปอีกระยะหนึ่ง จนกระทั่งถึงชวงวัยที่อายุกลายเปนอุปสรรคที่สำคัญตอการทำเกษตร
                       หลากหลาย นอกจากนี้ ยังพบวาระดับของผลกระทบจะเพิ่มสูงขึ้นตามสัดสวนจำนวนผูสูงวัยใน

                       ครัวเรือนอีกดวย

                              เกษตรกรสูงวัยจะมีการปลอยรางที่ดินเพิ่มขึ้น เพราะดวยขอจำกัดดานกำลังแรงงานในการ

                       บริหารจัดการและการนำเครื่องจักรกลและเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชในการผลิต หรืออาจเพราะ

                       ผลตอบแทนสุทธิที่ไดจากการผลิตไมมากพอ จึงปรากฏการละทิ้งที่ดินเพื่อรอขายหรือมอบเปนมรดก
                       ใหแกลูกหลาน เมื่อพิจารณารูปแบบกรรมสิทธิ์การถือครองที่ดิน พบวา เกษตรกรที่มีกรรมสิทธิ์ที่ดิน

                       อยางสมบูรณมีแนวโนมการละทิ้งที่ดินลดลง เปนไปไดวาเกษตรกรมีการลงทุนในที่ดินตนเอง ทั้งระบบ

                       น้ำ การรักษาคุณภาพดิน และการวางแผนการเพาะปลูกดูแลรักษาผลผลิต ดังนั้นภาครัฐจำเปนตองให
                       ความสำคัญในเรื่องนโยบายการจัดสรรที่ดิน ระบบกรรมสิทธิ์ในการถือครองที่ดิน รวมทั้งนโยบายภาษี

                       ที่ดิน เพื่อชวยลดผลกระทบของสังคมผูสูงวัยตอการละทิ้งไมใชประโยชนที่ดิน

                              ตลอดระยะเวลา 17 ปที่ทำการศึกษา พบวา ผลิตภาพและประสิทธิภาพในการผลิตของ

                       ครัวเรือนดีขึ้นกวาในอดีต โดยอัตราการเพิ่มของผลิตภาพสูงกวาอัตราการลดลงของการดอย
                       ประสิทธิภาพการผลิตถึงกวา 3 เทา ขณะที่คาเฉลี่ยของประสิทธิภาพการผลิตเทากับ 0.46 ซึ่งถือวา

                       อยูในเกณฑคอนขางต่ำ ชองวางที่กวางดังกลาวสะทอนวาการยกระดับประสิทธิภาพการผลิตของ

                       ครัวเรือนเกษตรไทยมีความจำเปนอยางมาก ขอสังเกตที่นาสนใจ คือ ในชวงเวลาที่คาระดับ
                       ประสิทธิภาพการผลิตลดลง มักปรากฏวาความผันผวนจะเพิ่มขึ้น ในทางตรงขาม ความผันผวนจะลดลง

                       ในชวงที่คาประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รูปแบบการเปลี่ยนแปลงดังกลาวสอดคลองกับการแทรกแซงตลาด
                       สินคาเกษตรของรัฐบาลทั้งในรูปของโครงการจำนำสินคาเกษตรและโครงการประกันรายไดสินคา






                                                                ค
   1   2   3   4   5   6   7   8   9