Page 9 -
P. 9

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                       ทางรายไดยังอยูในระดับคอนขางสูงและนาเปนหวง เนื่องจากพบวากลุมครัวเรือนที่มีรายไดต่ำที่สุดมี

                       สัดสวนหัวหนาครัวเรือนเปนผูสูงวัยสูงที่สุด โดยความเหลื่อมล้ำมีสาเหตุมาจากความเหลื่อมล้ำภายใน
                       กลุมเกษตรกรสูงวัยเอง มากกวาความเหลื่อมล้ำระหวางกลุมเกษตรกรสูงวัยกับกลุมเกษตรกรวัยอื่น

                       นอกจากนี้ แมจะพบวาโอกาสในการเลื่อนลำดับชั้นฐานะทางรายได สินทรัพย และที่ดินตลอด

                       ชวงเวลาที่ศึกษามีความเปนไปได แตสองกรณีหลังเกิดขึ้นคอนขางยาก อีกทั้งสังคมสูงวัยก็เปนปจจัย
                       สำคัญที่สงผลใหความเหลื่อมล้ำทางรายไดและสินทรัพยเพิ่มขึ้น (แตไมสงผลตอความเหลื่อมล้ำในการ

                       ถือครองที่ดิน) โดยเฉพาะในกรณีผูสูงวัยในกลุม Greatest/Silent generation ที่ปรากฏวามีความ
                       เหลื่อมล้ำทางรายไดสูงกวากลุมอื่น นโยบายดานการศึกษา (นโยบายเรียนฟรี 15 ป) นโยบายดาน

                       สาธารณสุข (โครงการ 30 บาทรักษาทุกโรค) และนโยบายดานเงินทุน (กองทุนหมูบาน) เปนปจจัย

                       สำคัญที่กำหนดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

                              การศึกษานี้แสดงใหเห็นชัดเจนวาสังคมสูงวัยสงผลใหประสิทธิภาพการผลิตลดลง ขณะที่

                       ความเหลื่อมล้ำทางรายไดเพิ่มสูงขึ้น การสงเสริมการศึกษาและสุขภาพใหกับครัวเรือนในภาคเกษตร
                       คาดวาจะสามารถลดความเหลื่อมล้ำทางรายได การเขาถึงระบบการศึกษาที่ทั่วถึงและคาใชจายต่ำจะ

                       ชวยเพิ่มทักษะความสามารถใหกับสมาชิกในครัวเรือน ซึ่งอาจหมายถึงการบริหารจัดการการผลิตทาง
                       การเกษตรที่หลากหลายมากขึ้น การสรางรายไดที่มั่นคง และการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต ขณะที่

                       การเขาถึงการรักษาพยาบาลที่ทั่วถึงและคาใชจายต่ำชวยลดโอกาสการสูญเสียสินทรัพยและที่ดิน

                       โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีเกษตรกรสูงวัยที่พบวามีการปรับลดขนาดและจำนวนแปลง หากการปรับ
                       ลดดังกลาวเกิดขึ้นผานการปลอยเชาที่ดินหรือการละทิ้งไมใชประโยชนที่ดินก็ไมใชปญหา เพราะ

                       เกษตรกรยังคงเปนเจาของที่ดิน แตหากเกิดขึ้นเพราะความจำเปนตองขายที่ดินเพื่อนำเงินมาใชจาย

                       เปนคารักษาพยายาบาล การสูญเสียที่ดินดังกลาวอาจหมายถึงการไรที่ดินทำกินและภาระหนี้สินซึ่ง
                       นำไปสูความยากจน นอกจากนี้ การสงเสริมการใหกรรมสิทธิ์ที่ดินอยางสมบูรณ การสงเสริมให

                       เกษตรกรสูงวัยเขาถึงแหลงเงินทุนและการมีงานทำทั้งในและนอกภาคเกษตร นาจะสามารถชวยให
                       เกิดการลงทุนในการผลิตเพื่อเพิ่มผลิตภาพและประสิทธิภาพได เชน ระบบชลประทาน คุณภาพดิน

                       การใชเครื่องจักรกล เปนตน และทายสุด การดำเนินนโยบายแทรกแซงตลาดสินคาเกษตรของรัฐบาล

                       ควรตองทำอยางรอบคอบ นอกจากตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนและประเมินผลไดแลว ยังตองคำนึงถึง
                       ผลกระทบตอเกษตรกรทั้งในดานประสิทธิภาพการผลิตและความเหลื่อมล้ำดวย เนื่องดวยงานวิจัยนี้

                       ชี้ใหเห็นวาทั้งโครงการจำนำสินคาเกษตรและโครงการประกันรายไดเกษตรกรลวนไมสามารถลดความ
                       เหลื่อมล้ำได ขณะที่สงผลใหประสิทธิภาพการผลิตลดลงและมีความผันผวนเพิ่มสูงขึ้น




                       คำสำคัญ: สังคมผูสูงวัย การแบงแปลงยอยที่ดิน ความหลากหลายในการดำรงชีพ การละทิ้งไมใช

                       ประโยชนที่ดิน ประสิทธิภาพการผลิต ความเหลื่อมล้ำ การแยกสวนประกอบรายได







                                                                ซ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14