Page 5 -
P. 5
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เกษตร รวมถึงเหตุการณวิกฤตราคาสินคาเกษตรและอาหารโลกปรับตัวสูงขึ้นอยางรวดเร็ว ซึ่งลวน
สรางแรงจูงใจใหเกิดการขยายการผลิต ทั้งรูปของการเพิ่มจำนวนแปลงไปยังที่ดินที่ไมเหมาะและการ
เขามาของเกษตรกรหนาใหมที่ขาดประสบการณ สงผลใหคาเฉลี่ยของระดับประสิทธิภาพการผลิตลดลง
ขณะที่ชองวางของประสิทธิภาพระหวางเกษตรกรที่มีความสามารถอันดับตนๆ กับเกษตรกรอันดับ
ทายๆ เพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัด
สังคมสูงวัยสงผลใหประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรลดลง (ความดอยประสิทธิภาพเพิ่ม
สูงขึ้น) แตเมื่อพิจารณาผลกระทบในแตละชวงควอนไทลของระดับประสิทธิภาพ พบวาอายุของ
หัวหนาครัวเรือนไมสงผลตอประสิทธิภาพการผลิตของครัวเรือนกลุมประสิทธิภาพสูง (เหนือควอนไทล
ที่ 50 ขึ้นไป) สำหรับสัดสวนรายไดนอกภาคเกษตรสงผลลบตอประสิทธิภาพการผลิต ซึ่งตรงขามกับ
งานวิจัยอื่น ๆ ที่พบวาประสิทธิภาพแปรผันตรงกับรายไดนอกภาคเกษตร เนื่องจากเกษตรกรสามารถ
จัดสรรเวลาและแรงงานไปใชในกิจกรรมนอกภาคเกษตรเพื่อใหเกิดรายไดมากขึ้น และรายไดสวนนี้เอง
ก็สามารถนำมาลงทุนหรือพัฒนาการผลิตทางการเกษตร แตในกรณีนี้ อาจเปนไปไดวารายไดนอกภาค
เกษตรไมไดถูกนำมาใชในการลงทุนที่สามารถยกระดับประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรของ
ครัวเรือน
ผลกระทบของสังคมสูงวัยตอความเหลื่อมล้ำในภาคเกษตร
การศึกษานี้สนใจที่จะทำความเขาใจและหาผลกระทบของสังคมสูงวัยตอความเหลื่อมล้ำใน
ภาคเกษตร โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัย 2 ขอ คือ
1) การวิเคราะหความเหลื่อมล้ำทางรายได ดวยวิธีแยกสวนประกอบ (Decomposition)
2) การวิเคราะหสาเหตุของความเหลื่อมล้ำดวยการใชแบบจำลองทางเศรษฐมิติ
สำหรับสวนที่ 1 นั้น ดัชนีที่ใชชี้วัดความเหลื่อมล้ำประกอบไปดวยสัดสวนของรายไดแตละ
กลุมตอรายไดทั้งหมด การกระจายตัวของรายรับสุทธิตอหัวของครัวเรือน ซึ่งแบงครัวเรือนเปนกลุม
ครัวเรือนที่มีหัวหนาครัวเรือนมีอายุนอยกวา 60 ป และกลุมที่มีหัวหนาครัวเรือนอายุตั้งแต 60 ปขึ้น
ไป การพิจารณา Transition matrix ซึ่งแสดงความนาจะเปนที่ครัวเรือนจะมีการเปลี่ยนแปลงกลุม
รายได สินทรัพย และที่ดิน สำหรับชวงเวลาป พ.ศ. 2543 – 2560 การแยกองคประกอบความเหลื่อม
ล้ำ (Decomposition results) โดยการหาดัชนีความเหลื่อมล้ำตาง ๆ ซึ่งไดแก ดัชนี GINI Atkinson
Thiel L (คา α = 0) และ Thiel T (คา α = 1) ในป พ.ศ. 2543 – 2560 ในขณะที่สวนที่ 2 ผูวิจัยได
สรางแบบจำลองทางเศรษฐมิติเพื่ออธิบายสาเหตุความเหลื่อมล้ำของครัวเรือนเกษตรกรไทย
ผลการศึกษาพบวา ความเหลื่อมล้ำทางรายไดของครัวเรือนเกษตรกรไทยมีการลดลงตลอด
ชวงเวลาของการศึกษา โดยวิเคราะหจากการที่สัดสวนรายไดตอหัวของกลุมครัวเรือนที่มีรายไดสูง
ที่สุดรอยละ 20 แรกลดลงอยางตอเนื่อง ในขณะที่กลุมที่มีรายไดที่เหลือมีรายไดที่เพิ่มขึ้นอยาง
ตอเนื่อง อยางไรก็ตามดัชนีตาง ๆ ที่ใชวัดความเหลื่อมล้ำดวย ยังคงอยูในระดับที่สูง นอกจากนี้เมื่อใช
ง