Page 23 -
P. 23
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ระดับต่ าและ ข้าวหัก 15 เปอร์เซ็นต์ส่งออกสูงขึ้นปริมาณเกือบ 1 ล้านเมตริกตัน เนื่องจากความต้องการสูง
จากตลาดอินโดนีเซีย
รูปที่ 5 กราฟการส่งออกข้าวของเวียดนาม แบ่งตามเกรดและปลายทางประเทศผู้น าเข้าในปี พ.ศ. 2560-2561 (เมตริกตัน)
ที่มา: Post’s calculation 2019
รูปที่ 6 กราฟการส่งออกข้าวของเวียดนามแบ่งตามเกรด ในปี พ.ศ. 2556-2557 ถึง พ.ศ. 2560-2561 (เมตริกตัน)
ที่มา: Post’s calculation 2019
ประเด็นด้านความยั่งยืนของการผลิตและการบริโภคอาหารก าลังเกิดขึ้นในเวียดนามและก าลังได้รับ
ความสนใจเพิ่มขึ้น มากกว่าร้อยละ 90 ของการส่งออกข้าวของเวียดนามมาจากสามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง
(MRD) (Hauge, 2016) อย่างไรก็ตาม สามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง ได้รับการระบุว่ามีความเสี่ยงสูงต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและก าลังเผชิญกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงเนื่องจากการใช้สารเคมี
ในการเกษตรมากเกินไป คาดว่าระดับน้ าทะเลที่สูงขึ้นหนึ่งเมตรอาจท าให้ร้อยละ 39 ของสามเหลี่ยมปากแม่น้ า
โขง ถูกน้ าท่วม (Schmidt-Thomé et al., 2015) ดังนั้นจึงควรพิจารณาการท านาแบบยั่งยืนมากขึ้นในเขต
พื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ าโขง (Berg et al., 2017; Demont และ Rutsaert, 2017) ในปี พ.ศ. 2560-2561
การผลิตข้าวสารของเวียดนามลดลงประมาณ 1.3 ล้านเมตริกตัน จาก 29.1 ล้านเมตริกตัน เป็น 27.7 ล้าน
เมตริกตัน ปริมาณการส่งออกอยู่ที่ 6 ล้านตัน (USDA, 2019) ข้าวของเวียดนามส่วนใหญ่ส่งออกมายังประเทศ
ผู้น าเข้าหลัก ได้แก่ จีน (1.4 ล้านเมตริกตัน) และฟิลิปปินส์ (1.1 ล้านเมตริกตัน) การส่งออกไปแอฟริกาลดลง
เนื่องจากการแข่งขันที่รุนแรงจากอินเดีย ไทย และปากีสถาน ในแง่ของคุณภาพเวียดนามส่งออกคุณภาพข้าว
6