Page 66 -
P. 66

โครงการรวบรวมและจัดทําวารสารอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                 64                        Thai J. For. 35 (1) : 62-73 (2016)




                                 ค�ำน�ำ                      ลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาและที่ราบ ระดับความสูง
                                                             12-603 เมตร (MSL) ปริมาณน�้าฝนรายปีเฉลี่ย 1,942
                        บริการของระบบนิเวศ (ecosystem services) เป็น  มิลลิเมตร ลักษณะภูมิอากาศ มี 2 ฤดู คือ ฤดูร้อน และฤดู
                คุณค่าและหน้าที่ของระบบนิเวศที่เอื้ออ�านวยประโยชน์  ฝน (Meteorological Department, 2012) ปริมาณน�้าท่าวัดที่
                ต่อการด�ารงชีวิตและให้ความสุขแก่มนุษย์ ประกอบด้วย   สถานีตรวจวัดน�้าท่า X.53A บริเวณบ้านวังไผ่ อ�าเภอเมือง
                4 ด้าน ได้แก่ บริการด้านเสบียง (provisioning service)   จังหวัดชุมพร เฉลี่ย 376.47 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี ปริมาณ
                บริการด้านการควบคุม (regulating service) บริการด้าน  ตะกอนที่ถูกพัดพามากับน�้า (delivered sediment) เฉลี่ย

                สนับสนุน (supporting service) และด้านวัฒนธรรมและ  43,143.33 ตันต่อปี (Royal Irrigation Department, 2012)
                นันทนาการ (culture and recreation service) (World
                Resources Institute, 2005)                   กำรรวบรวมข้อมูล
                        ลุ่มน�้าคลองชุมพร เป็นแหล่งต้นน�้าที่ส�าคัญ      รวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ประกอบด้วย แผนที่
                มีคลองชุมพรเป็นล�าน�้าสายหลัก ไหลจากทิศตะวันตก  ภูมิประเทศ มาตราส่วน 1:50,000 ล�าดับชุด L7018 ของ
                ไปทิศตะวันออก ผ่านตัวเมืองชุมพรซึ่งเป็นพื้นที่รับน�้า  กรมแผนที่ทหาร ระวาง 4729 I, 4730 II และ 4830 III
                ก่อนจะไหลลงสู่ทะเล ในพื้นที่ลุ่มน�้ามีปัญหาการบุกรุก  แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน ปี พ.ศ. 2543, พ.ศ. 2555 และ
                พื้นที่ป่าเพื่อปลูกยางพารา ปาล์มน�้ามัน และสวนผลไม้   ข้อมูลชุดดิน จากกรมพัฒนาที่ดิน แผนที่ภาพถ่ายทาง
                ท�าให้ความสามารถในการกักเก็บน�้าของดินตามธรรมชาติ  อากาศสี ปี พ.ศ. 2545 แผนที่ป่าสงวนแห่งชาติ และแผนที่

                ลดลง (Tangtham, 1984) ส่งผลให้ปริมาณน�้าท่าและ  ป่าอนุรักษ์ จากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
                ปริมาณตะกอนในล�าน�้าเพิ่มขึ้น เกิดปัญหาน�้าท่วมบริเวณ  ภาพถ่ายจากดาวเทียม Landsat-5TM  ปี พ.ศ. 2555 จาก
                พื้นที่ตอนล่างทุกปี                          องค์การเทคโนโลยีอวกาศและสารสนเทศ มหาชน ข้อมูล
                        การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการประเมินเชิงปริมาณ  สภาพภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ข้อมูลปริมาณ
                ของบริการของระบบนิเวศ บริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพร   น�้าท่าและปริมาณตะกอน จากกรมชลประทาน เป็นต้น
                ที่ส�าคัญ 3 ด้าน ประกอบด้วย ปริมาณน�้าท่า การอนุรักษ์  กำรเก็บข้อมูล
                หน้าดิน และการรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ของ        เก็บข้อมูลความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                รูปแบบการใช้ที่ดินในปัจจุบัน และตามภาพเหตุการณ์  เกี่ยวกับความต้องการการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน�้า โดย
                การใช้ที่ดินในอนาคต ประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์  การจัดประชุมกลุ่ม (focus group) แล้วเลือกตัวแทน
                การสูญเสียธาตุอาหาร และค่าใช้จ่ายในการขุดลอก  เข้าร่วมประชุมแบบเจาะจงตัวบุคคลที่เป็นผู้ให้ข้อมูล
                ตะกอนที่เกิดจากการชะล้างพังทลายของดิน และเสนอ  หลัก (key informants) และตัวแทนของแต่ละต�าบล
                แนะรูปแบบการใช้ที่ดินที่เหมาะสม ส�าหรับการใช้ที่ดิน  ที่ผู้น�าชุมชนเป็นผู้คัดเลือกจาก 5 ต�าบล ครอบคลุมทุก
                บริเวณลุ่มน�้าคลองชุมพรในอนาคต
                                                             ประเภทการใช้ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน�้า รวม 30 คน ใช้แบบ

                          อุปกรณ์ และวิธีกำร                 สัมภาษณ์และจดบันทึก แบ่งเป็น 5 กลุ่ม ประกอบด้วย
                                                             กลุ่มเกษตรกร 7 คน กลุ่มประชาชนทั่วไป 5 คน กลุ่ม
                พื้นที่ศึกษำ                                 ผู้น�าท้องถิ่น 5 คน กลุ่มผู้แทนองค์การบริหาร
                        ลุ่มน�้าคลองชุมพร ตั้งอยู่ที่อ�าเภอกระบุรี จังหวัด  ส่วนต�าบล 5 คน และกลุ่มนักวิชาการ 8 คน

                ระนอง และอ�าเภอเมือง จังหวัดชุมพร เนื้อที่ประมาณ 300      เก็บข้อมูลดินในพื้นที่ลุ่มน�้าที่มีความลาดชัน
                ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 3 ลุ่มน�้าย่อย คือ ลุ่มน�้า  มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ (slope complex) และตามลักษณะ
                คลองท่าไม้ลาย ลุ่มน�้าคลองกุ่ม และลุ่มน�้าคลองหินโล่   ทางธรณีวิทยา (Geology) 2 ประเภท คือ หินยุค Permian
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71